ผลงานสร้างสรรค์ เดี่ยวซอด้วง เพลงพันธุ์ฝรั่ง สามชั้น

คลิปการบรรเลง เดี่ยวซอด้วง เพลงพันธ์ุฝรั่ง สามชั้น

 

อรรถาธิบายและบทวิเคราะห์เดี่ยวซอด้วง เพลงพันธุ์ฝรั่ง สามชั้น

            เดี่ยวซอด้วง เพลงพันธุ์ฝรั่ง สามชั้นนี้ ผู้เขียนได้ประพันธ์ขึ้นมาใหม่ โดยอาศัยทำนองหลักจากครูทัศนัย พิณพาทย์ ในครั้งแรกนั้นได้ประพันธ์และเผยแพร่ในเฟซบุ้ค (Facebook) ของผู้ที่ขอให้ผู้เขียนประพันธ์ทางเดี่ยวนี้ขึ้น คือ นายอนุรักษ์ รักสถิตกุล เพื่อนำไปให้ลูกศิษย์ชื่อนายอนุสิทธิ์ นะโม นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนจระเข้หินสังฆกิจวิทยา โดยเผยแพร่เป็นวิทยาทานแก่นักเรียน
ในภูมิภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ต่อมาจึงมีผู้นำทางที่ได้ประพันธ์ขึ้นนี้ไปบรรเลงในการประกวด
ดนตรีไทย ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

            สำหรับการประพันธ์ทางเดี่ยวซอด้วงเพลงพันธุ์ฝรั่งนี้ ผู้เขียนได้รับโจทย์ว่า ผู้ที่จะนำทางเดี่ยว      ไปบรรเลงเป็นผู้ที่มีความมานะ พยายามในการฝึกซ้อม สามารถปฏิบัติกลวิธีพิเศษเบื้องต้น เช่น การพรม การประ การรูดนิ้ว ได้พอสมควรแล้ว แต่ผู้เขียนไม่เคยเห็นฝีมือการบรรเลงของนักเรียนจริงๆ ผู้เขียนจึงประพันธ์โดยมีแนวคิดว่า จะเป็นทางเดี่ยวที่จะแสดงศักยภาพของนักเรียนในระดับมัธยมศึกษา
ตอนปลายได้อย่างเต็มศักยภาพ โดยวิธีการเรียบเรียงผลงานนั้น ผู้เขียนจะนำเสนอเป็นอรรถาธิบายประกอบบทวิเคราะห์ดังนี้

           การขึ้นเพลง ผู้เขียนได้ประพันธ์ให้มีการขึ้นเพลง โดยใช้กลวิธีการเอื้อนเสียง ในส่วนของ
ห้องที่ 6 นั้น ได้ใช้สำนวนของเครื่องดนตรีประเภทเครื่องเป่า เช่น ปี่ ขลุ่ย ซึ่งมักจะบรรเลงว่า

 

– ด ร ม
ดํ ม ซ ล
 

 

 

            ซึ่งผู้เขียนได้แปลงสำนวนนี้ มาเป็นสำนวนที่เอื้อต่อการบรรเลงซอด้วง ซึ่งได้ทำนองดังต่อไปนี้

ทำนองหลัก

– – – ท
– – รํ รํ
– – – มํ
– – รํ รํ
– – – ลท
– รํ – มํ
– มํ – มํ
– รํ – ท
– – – ฟ
– ร – –
– – – ม
– ร – –
– – ซ –
– ร – ม
– ซ – ม
– ร – ทฺ
 

การประพันธ์ทางเดี่ยว

– – – ท
—- -รรร
-มรท –รม
-รมร -รรร
-ทลซ –ลท
–ซํท -ร-ม
–ลํซํ —ม
ซํรมร –รม
–รท —-
 
 

ในวรรคต่อไปนั้น ผู้เขียนได้ประพันธ์ให้มีรายละเอียดของทำนอง เพื่อแสดงศักยภาพ
ของผู้บรรเลง มีการใช้กลวิธีพิเศษ ได้แก่การพรม การพรมจาก การเอื้อนเสียง ดังทำนองต่อไปนี้

 

ทำนองหลัก

– ท – –
ล ล – –
ท ท – –
รํ รํ – มํ
– – ท –
ท – ล –
ซ – ล –
ล – ซ –
  – ทฺ – ลฺ
  – – – ทฺ
  – – – ร
  – – – ม
  – – – ล
  – ซ – ม
  – ม – ซ
  – ม – ร
 

การประพันธ์ทางเดี่ยว

— รท -ซลท
ร ม ร ล
ท ล ร ล
-ทลซ –ซํลํ
–ซํม –ซํ
ฟซํลํซํ —ม
–รท –รม
ซํรมร —ร
 

ในวรรคต่อมานั้น เป็นเท่าเพลง ซึ่งเหมือนกับวรรคขึ้นเพลง ผู้เขียนจึงได้ประพันธ์ ให้ในวรรคนี้
มีการรูดสาย เพื่อให้ทำนองมีความหลากหลาย ไม่ซ้ำกับวรรคขึ้นเพลง อีกทั้งได้แสดงศักยภาพ
ของผู้บรรเลงอีกด้วย 

 

ทำนองหลัก

  ม – ม –
  ม ซ – –
  ม – ม –
  ม ซ – – 
  – – ลฺ ทฺ
  – – ร ม
  – ล – –
  ซ ม – –
  – ทฺ – ร
  – – ม ร
  – ทฺ – ร
  – – ม ร
  – ซฺ – –
  ลฺ ทฺ – –
  – – ซ ม
  – – ร ทฺ
 

การประพันธ์ทางเดี่ยว

– – – ร
-มรท –รม
–ลํซํ —ม
รทมร -รรร
—- –รํลํ
-ทํลํซํ -ลํซํมํ
–รท –รม
ซํรมร  –รม
–รท —-
 
 

ในวรรคต่อไปนั้น ผู้เขียนได้ประพันธ์เป็นทำนองเรียบๆ โดยแปลทำนองจากทำนองหลัก เนื่องจากในวรรคก่อนหน้านั้น ได้มีการแสดงศักยภาพของผู้บรรเลงไปแล้ว

 

ทำนองหลัก

  – ม – –
  ร ทฺ – –
  ซ ซ – –
  ล ล – ท
  – ซ – –
  – ลท – รํ
  – มํ – รํ
  – ท – ล
  – – ร ทฺ
  – – ลฺ ซฺ
  – – – ลฺ
  – – – ทฺ
  – ร – –
  – ซ – – ร
  – ม – ร
  – ทฺ – ลฺ
 

การประพันธ์ทางเดี่ยว

–รท -ซลท
รมรซํ —ซ
—- –รล
-ทลซ –ลท
–ลํซํ —ม
ซํรมร –รม
–รด -ท-ด
-ทลซ — ล
 

 

ใน 2 วรรคต่อมาในสำนวนท้านั้น ผู้เขียนแปลจากทำนองหลัก ในสำนวนรับนั้น ผู้เขียนได้ประพันธ์ทำนองให้มีการรูดสายในหลายช่วง เนื่องจากผู้เขียนมีความเห็นว่าทำนองในช่วงนี้เหมาะสม
ที่จะแสดงศักยภาพ หากสีได้ดี จะมีความไพเราะน่าฟังเป็นอย่างมาก ทั้งนี้ผู้เขียนยังได้ใส่กลวิธีพิเศษ
ซึ่งสำนักพระยาภูมีเสวิน (จิตร จิตตเสวี) ได้เรียกว่า “นิ้วแอ้” เข้ามาด้วย ในวรรคนี้มีการใช้นิ้วที่ซับซ้อนพอสมควร มีการสลักนิ้วชี้ นิ้วนางขึ้นลงอยู่จำนวน 2 จุด ดังทำนองต่อไปนี้

 

ทำนองหลัก

  – – – ท
  – – – ลท
  – มํ – รํ
  – ท – ล
  – ร – ซ
  – – ล ท
  – รํ – ท
  – ล – ซ
  – ทฺ – –
   – – ซ –
  – ม – ร
  – ทฺ – ลฺ
  – ลฺ – ซฺ
  – – – ทฺ
  – ร – ทฺ
  – ลฺ – ซฺ

  – – ฟม –
  – ม – –
  – ร – ร
  – – – ซ
  – รํ – ท
  – ล – –
  ซ ซ – –
  ล ล – ท
  – – – ร
  – – – รฺ
  – – – ลฺ
  – – – ซฺ
  – ร – ทฺ
  – ลฺ – ซฺ
  – – – ลฺ
   – – – ทฺ
 

การประพันธ์ทางเดี่ยว

– – – ท
รทลซ –ลท
ม ร ซํ ม
ร ท – ล
ท ร ม ซํ
-ทํลํซํ –ลํทํ
– รํ – ลํ
ทํลํรํทํ -ทํลํซํ
– – – ซํ
ฟซํลํซํ —ม
–รท –รม
-ซํฟซํ ลํซํ-ซํ
—- -ซํลํทํ
รํ มํ รํ ซํ
—- –รํลํ
-ทํลํซํ –ลํทํ
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 

ในวรรคต่อมานั้น ในห้องแรก ผู้เขียนประพันธ์ทางเดี่ยวให้มีการรูดสายจากเสียงเรสูง มาถึง
สายเปล่า ซึ่งเป็นวิธีการที่สำนักหลวงไพเราะเสียงซอ (อุ่น ดูรยะชีวิน) มักใช้เพื่อดำเนินทำนองหลังจากการรูดนิ้ว ลงไปในเสียงสูง จากนั้นผู้เขียนได้แปลทำนองเป็นทำนองเรียบๆ เพื่อที่จะส่งไปยังวรรคสุดท้าย

 

ทำนองหลัก

  – – – ลท
  – รํ – มํ
  – มํ – มํ
  – รํ – ท
  – รํ – มํ
  – รํ – –
  ท ท – –
  ล ล – ซ
  – – ซ –
  – ร – ม
  – ซ – ม
  – ร – ทฺ
  – ร – ม
  – ร – ทฺ
  – – – ล
  – – – ซฺ
 

การประพันธ์ทางเดี่ยว

– รํ – ร
-มรท –รม
–ลํซํ —ม
ซํรมร –รม
–รท -ร-ซ
-ทลซ –ลท
– ร – ล
ทลรท -ทลซ
 

ในวรรคสุดท้ายนี้ ผู้เขียนได้ประพันธ์ให้มีการเอื้อนเสียง สลับกับการสีเก็บ ในสำนวนรับนั้น มีการประพันธ์ทำนองเพื่อสะดวกต่อการเร่งแนวในทางพัน

 

ทำนองหลัก

  – ซ – –
  – ลท – รํ
  – มํ – รํ
  – ท – ล
  – ท – ล
  – ซ – ม
  – ซ – –
  ล ล – ซ
  – ร – –
  – ซ – – ร
  – ม – ร
  – ทฺ – ลฺ
  – ทฺ – ลฺ
  – ซฺ – ทฺ
  – ซฺ – ลฺ
  – – – ซฺ
 

การประพันธ์ทางเดี่ยว

-ทลซ –ลท
-ลทล –ทร
ม ร ซํ ม
ร ท – ล
ร ท – ล
-ทลซ —ม
ร ซํ ท ร
– ม – ซํ
 

ในทางพัน ผู้เขียนได้ประพันธ์ทำนองให้มีความเรียบ เพื่อให้เหมาะสมกับลีลาของซอด้วง ซึ่งเป็นผู้นำวงในวงเครื่องสายอีกทั้งเพื่อความเหมาะสมกับทักษะของนักเรียนในระดับมัธยมศึกษา มีกลวิธีพิเศษคือ การพรม การสะบัดคันชัก ดังทำนองต่อไปนี้

 

ทำนองหลัก

– – – ท
– – รํ รํ
– – – มํ
– – รํ รํ
– – – ลท
– รํ – มํ
– มํ – มํ
– รํ – ท
– – – ฟ
– ร – –
– – – ม
– ร – –
– – ซ –
– ร – ม
– ซ – ม
– ร – ทฺ
 

– ท – –
ล ล – –
ท ท – –
รํ รํ – มํ
– – ท –
ท – ล –
ซ – ล –
ล – ซ –
  – ทฺ – ลฺ
  – – – ทฺ
  – – – ร
  – – – ม
  – – – ล
  – ซ – ม
  – ม – ซ
  – ม – ร
 

การประพันธ์ทางเดี่ยว

– – – ท
—- -รรร
ซํ ท ร ม
ลํ ซํ ม ร
ซ ล ซ ท
ล ท ร ม
ท ร ม ร
ซํ ม ร ท
ล ท ร ล
ท ซ ล ท
ร ม ซํ ร
ม ท ร ม
ร ท ม ร
ซํ ม ลํ ซํ
ร ม ฟ ลํ
ซํ ฟ ม ร
 

ในวรรคต่อมา สำนวนท้าเป็นเท่าเพลงเสียงเร ซึ่งผู้เขียนได้ประพันธ์ให้มีทำนองที่ไม่ซ้ำกัน
ซึ่งแตกต่างจากทำนองหลัก และใช้กลวิธีพิเศษคือ การสะบัดคันชักมาช่วยในการสร้างสรรค์ทำนอง
ในสำนวนรับดำเนินทำนองเรียบๆ ตามลักษณะลีลาของซอด้วง ดังทำนองต่อไปนี้ 

 

 

 

 

 

 

ทำนองหลัก

  ม – ม –
  ม ซ – –
  ม – ม –
  ม ซ – – 
  – – ลฺ ทฺ
  – – ร ม
  – ล – –
  ซ ม – –
  – ทฺ – ร
  – – ม ร
  – ทฺ – ร
  – – ม ร
  – ซฺ – –
  ลฺ ทฺ – –
  – – ซ ม
  – – ร ทฺ
 

การประพันธ์ทางเดี่ยว

ซํ ท ร ม
ท ร  -รรร
ซํ ม ร ท
ลํ ซํ ม ร
ซ ล ซ ท
ล ท ร ซํ
ฟ ซํ ลํ ซํ
ฟ ม ร ท
 

ในวรรคต่อไป ผู้เขียนได้ผูกกลอนให้มีลักษณะคล้ายกลบท ในวรรณศิลป์ ซึ่งจะเป็นทำนองต่อเนื่องกันทั้งสิ้น 2 วรรค ซึ่งผู้เขียนได้ใช้โน้ตเสียงจร (โน้ตนอกบันไดเสียง ดังที่ได้ทำตัวหนาไว้) มาใช้
ในการประพันธ์เพื่อให้เกิดความปลั่งจำเพาะของเพลง ดังทำนองต่อไปนี้

 

ทำนองหลัก

  – ม – –
  ร ทฺ – –
  ซ ซ – –
  ล ล – ท
  – ซ – –
  – ลท – รํ
  – มํ – รํ
  – ท – ล
  – – ร ทฺ
  – – ลฺ ซฺ
  – – – ลฺ
  – – – ทฺ
  – ร – –
  – ซ – – ร
  – ม – ร
  – ทฺ – ลฺ
 

  – – – ท
  – – – ลท
  – มํ – รํ
  – ท – ล
  – ร – ซ
  – – ล ท
  – รํ – ท
  – ล – ซ
  – ทฺ – –
   – – ซ –
  – ม – ร
  – ทฺ – ลฺ
  – ลฺ – ซฺ
  – – – ทฺ
  – ร – ทฺ
  – ลฺ – ซฺ
 

การประพันธ์ทางเดี่ยว

ม ร ซํ ม
ร ท ล ซ
ล ท ร ล
ท ซ ล ท
ด ร ซํ ม
ร ด ท ด
ซ ล ท ด
ร ด ท ล
ฟ ม ฟ ร
ม ฟ ม ฟ
ซํ ลํ ซํ ฟ
ม ฟ ซํ ลํ
ร ท ล ซ
ร ซ ล ท
ม ร ซํ ม
ร ท ล ซ
 

ในวรรคต่อไป เป็นวรรคที่ผู้เขียนตั้งใจจะคลี่คลายสำนวนที่ได้ผูกมาก่อนหน้า ซึ่งได้ใช้
โน้ตเสียงจรในห้องที่ 1 และ 2 เพื่อให้ความปลั่งจำเพาะที่ผูกไว้ในวรรคก่อนนั้น ไม่ปลั่งจนเกินไป
ในสำนวนรับนั้น ผู้เขียนได้ใส่กลวิธีพิเศษคือ การขยี้เข้าไปเพื่อเป็นการสรุปและคลี่คลายสำนวนกลบท
ที่ผูกมาทั้งสิ้น

 

 

 

 

 

ทำนองหลัก

  – – ฟม –
  – ม – –
  – ร – ร
  – – – ซ
  – รํ – ท
  – ล – –
  ซ ซ – –
  ล ล – ท
  – – – ร
  – – – รฺ
  – – – ลฺ
  – – – ซฺ
  – ร – ทฺ
  – ลฺ – ซฺ
  – – – ลฺ
   – – – ทฺ
 

การประพันธ์ทางเดี่ยว

ลํ ฟ ม ฟ
ลํ ฟ ม ร
ท ม ร ม
ซํ ม ลํ ซํ
ร ท ม ร
ท ร ม ซ
ลทรม ทรมซํ
ฟซํลํซํ ฟมรท
 

ในวรรคต่อไปนั้น เมื่อสรุปสำนวนต่างๆ แล้ว ผู้เขียนได้ประพันธ์ทำนองต่อจากนี้ ให้เป็นท่อนจำของเพลง โดยใช้กลอนเพลงที่ปรากฏอยู่ในตอนหนึ่งของเพลงทยอยเดี่ยว (ตัวหนา) จากนั้นได้
ผูกกลอนไต่จากสายเปล่าสายทุ้มขึ้นไปจนถึงนิ้วก้อยสายเอก และลงจบด้วยการรูดนิ้ว และการเอื้อน
ซึ่งในส่วนของการรูดนิ้วนั้นจะต้องอาศัยความชำนาญ ความคุ้นชินกับซอเป็นอย่างมาก ในส่วนนี้ผู้เขียนประพันธ์ทำนองเพื่อวัดใจผู้บรรเลง ว่าจะมีความแม่นยำของนิ้ว หู และมือ มากขนาดไหน ซึ่งหากทำได้
ก็จะเป็นท่อนที่ทำให้ได้คะแนนจากคณะกรรมการเพิ่มขึ้น

 

ทำนองหลัก

  – – – ลท
  – รํ – มํ
  – มํ – มํ
  – รํ – ท
  – รํ – มํ
  – รํ – –
  ท ท – –
  ล ล – ซ
  – – ซ –
  – ร – ม
  – ซ – ม
  – ร – ทฺ
  – ร – ม
  – ร – ทฺ
  – – – ล
  – – – ซฺ

  – ซ – –
  – ลท – รํ
  – มํ – รํ
  – ท – ล
  – ท – ล
  – ซ – ม
  – ซ – –
  ล ล – ซ
  – ร – –
  – ซ – – ร
  – ม – ร
  – ทฺ – ลฺ
  – ทฺ – ลฺ
  – ซฺ – ทฺ
  – ซฺ – ลฺ
  – – – ซฺ
 

การประพันธ์ทางเดี่ยว

ร ซ ร ท
ร ล ร ซ
ร ท ร ล
ร ซ ร ท
ซ ล ท ซ
ล ท ด ล
ท ด ร ท
ด ร ม ด
ร ม ฟ ร
ม ฟ ซํ ม
ฟ ซํ ลํ ฟ
ม ฟ ซํ ลํ
รํ ทํ – ลํ
-ทํลํซํ -ลํซํม
ร ซํ ท ร
—ม –ลํซํ
 

            ทางเดี่ยวซอด้วง เพลงพันธุ์ฝรั่ง ที่ได้ประพันธ์ขึ้นใหม่นี้ ผู้เขียนได้ประพันธ์โดยการใช้แนวคิดจากทฤษฎีต่างๆ ทางดุริยางคศิลป์ รวมถึงคัดเลือก ดัดแปลงทำนองเพลงจากสำนวนของเครื่องดนตรีต่างๆ เพื่อดำเนินกลอนให้มีความนิ่ง เรียบ แต่คมคายด้วยสำนวนกลอนที่ผูกไว้ ใช้วิธีการประพันธ์
ตามแบบนักประพันธ์ประเภทศึกษิตอนุรักษ์ ซึ่งอาศัยบริบทของการประกวดระดับมัธยมศึกษา ผลของการประพันธ์นี้จึงได้ทางเดี่ยว ซอด้วง สำนวนใหม่ที่มีความคมคาย เรียบร้อย ไพเราะน่าฟัง มีทำนองหลายทำนองที่เป็นอัตลักษณ์เฉพาะผู้เขียน ซึ่งมีความที่แตกต่างจากทางเดี่ยว ของนักประพันธ์ท่านอื่นๆ

เดี่ยวซอด้วง เพลงพันธุ์ฝรั่ง สามชั้น

ประพันธ์ทางเดี่ยว โดย อาจารย์สุรพงษ์ บ้านไกรทอง

 

เที่ยวโอด

– – – ท
—- -รรร
-มรท –รม
-รมร -รรร
-ทลซ –ลท
–ซํท -ร-ม
–ลํซํ —ม
ซํรมร –รม
— รท -ซลท
ร ม ร ล
ท ล ร ล
-ทลซ –ซํลํ
–ซํม –ซํ
ฟซํลํซํ —ม
–รท –รม
ซํรมร —ร
– – – ร
-มรท –รม
–ลํซํ —ม
รทมร -รรร
—- –รํลํ
-ทํลํซํ -ลํซํมํ
–รท –รม
ซํรมร  –รม
–รท -ซลท
รมรซํ —ซ
—- –รล
-ทลซ –ลท
–ลํซํ —ม
ซํรมร –รม
–รด -ท-ด
-ทลซ — ล
– – – ท
รทลซ –ลท
ม ร ซํ ม
ร ท – ล
ท ร ม ซํ
-ทํลํซํ –ลํทํ
– รํ – ลํ
ทํลํรํทํ -ทํลํซํ
– – – ซํ
ฟซํลํซํ —ม
–รท –รม
-ซํฟซํ ลํซํ-ซํ
—- -ซํลํทํ
รํ มํ รํ ซํ
—- –รํลํ
-ทํลํซํ –ลํทํ
– รํ – ร
-มรท –รม
–ลํซํ —ม
ซํรมร –รม
–รท -ร-ซ
-ทลซ –ลท
– ร – ล
ทลรท -ทลซ
-ทลซ –ลท
-ลทล –ทร
ม ร ซํ ม
ร ท – ล
ร ท – ล
-ทลซ —ม
ร ซํ ท ร
– ม – ซํ
 

เที่ยวพัน

– – – ท
—- -รรร
ซํ ท ร ม
ลํ ซํ ม ร
ซ ล ซ ท
ล ท ร ม
ท ร ม ร
ซํ ม ร ท
ล ท ร ล
ท ซ ล ท
ร ม ซํ ร
ม ท ร ม
ร ท ม ร
ซํ ม ลํ ซํ
ร ม ฟ ลํ
ซํ ฟ ม ร
ซํ ท ร ม
ท ร  -รรร
ซํ ม ร ท
ลํ ซํ ม ร
ซ ล ซ ท
ล ท ร ซํ
ฟ ซํ ลํ ซํ
ฟ ม ร ท
ม ร ซํ ม
ร ท ล ซ
ล ท ร ล
ท ซ ล ท
ด ร ซํ ม
ร ด ท ด
ซ ล ท ด
ร ด ท ล
ฟ ม ฟ ร
ม ฟ ม ฟ
ซํ ลํ ซํ ฟ
ม ฟ ซํ ลํ
ร ท ล ซ
ร ซ ล ท
ม ร ซํ ม
ร ท ล ซ
ลํ ฟ ม ฟ
ลํ ฟ ม ร
ท ม ร ม
ซํ ม ลํ ซํ
ร ท ม ร
ท ร ม ซ
ลทรม ทรมซํ
ฟซํลํซํ ฟมรท
ร ซ ร ท
ร ล ร ซ
ร ท ร ล
ร ซ ร ท
ซ ล ท ซ
ล ท ด ล
ท ด ร ท
ด ร ม ด
ร ม ฟ ร
ม ฟ ซํ ม
ฟ ซํ ลํ ฟ
ม ฟ ซํ ลํ
รํ ทํ – ลํ
-ทํลํซํ -ลํซํม
ร ซํ ท ร
—ม –ลํซํ