Single View Blog 1
รศ.ดร.ฌาน ปัทมะ พลยง

ผลงาน

ความเชี่ยวชาญ

อาชีวอนามัย

สาธารณสุข

ผลงานวิจัย / ผลงานวิชาการ

วิจัยตีพิมพ์เผยแพร่

ระดับนานาชาติ

Thanawat Hongsa, Chan Pattama Polyong. (2024). Risk factors affecting stress and burnout among teachers: A cross-sectional study from Chonburi, Thailand. Journal of UOEH. xxx. (accepted). PubMed.

Thanawat Hongsa, Chan Pattama Polyong. (2024). Prevalence and factors associated with sickness presenteeism among Thai and foreign teachers following the end of COVID-19 public health emergency of international concern. Korean J Fam Med, 45, 1-9.  https://doi.org/10.4082/kjfm.23.0224. PubMed.

Chan Pattama Polyong, Anamai Thetkatuek. (2023). Comparison of acetylcholinesterase among employees based on job positions and personal protective equipment in fuel station. Environ Anal Health Toxicol, 38(3):e2023018-0. https://doi.org/10.5620/eaht.2023018. PubMed

Chan Pattama Polyong, Anamai Thetkatuek. (2023). Comparison of prevalence and associated factors of multisystem health symptoms among employees workers in the gas station area, Thailand. Kesmas. 18(3). 168-176. doi:10.21109/kesmas.v18i3.6924. Scopus

Anamai Thetkathuek, Chan Pattama Polyong Wanlop Jaidee, Jintana Sirivarasai. (2023). Health status and major risk factor profiles on the health effects of workers at gasoline station in Rayong Province, Thailand. The International Conference for Public Health, Environment, and Education for Sustainable Development Goals and Lifelong Learning. September 28 - 29, 2023.

Anamai Thetkatuek, Chan Pattama Polyong, Wanlop Jaidee. (2023). Benzene risk assessment for neurological disorders of fuel station employees in Rayong province. Rocz Panstw Zakl Hig. 74(2),231-241. https://doi.org/10.32394/rpzh.2023.0262. PubMed

Chan Pattama Polyong,  Anamai Thetkatuek. (2022). Factors influencing the hematological parameters among laborers at a gas service station in Rayong Province, Thailand. J Public Hlth Dev.20(3),47-53. https://doi.org/10.55131/jphd/2022/200304. Scopus

Chan Pattama Polyong, Anamai Thetkatuek. (2022). Comparison of the ANC of BTEX exposure between outdoor and indoor in gasoline station, Rayong province. Suranaree J Sci Technol. 29(4),070052(1-9). Scopus

Anamai Thetkathuek, Chan Pattama Polyong. (2022). Health status and factors influencing access to health care services by workers in petrol stations in Rayong Province, Thailand. Rocz Panstw Zakl Hig. 73(3). https://doi.org/10.32394/rpzh.2022.0215.  PubMed

Chan Pattama Polyong,  Anamai Thetkatuek. (2022).  Factors affecting prevalence of neurological symptoms among workers at gasoline stations in Rayong Province, Thailand. Environ Anal Health  Toxicol, 37(2):e2022009. PubMed

Anamai Thetkathuek, Chan Pattama Polyong, Wanlop Jaidee, Jintana Sirivarasai. (2022). Comparison of urinary biomarkers concentrations in exposure and non-exposure petrol station workers in the Eastern Economic Corridor (EEC), Thailand. Rocz Panstw Zakl Hig. 73(1),109-119. PubMed

Suppachai Iamkulworapong, Chan Pattama Polyong, Marissa Kongsombutsuk. (2014). Comparison hematological of benzene exposure between indoor and outdoor among resident living near petrochemical industrial Rayong province. The 21st Asian Conference on Occupational Health (ACOH). 2-4 September 2014. Fukuoka. Japan.

Marissa Kongsombutsuk, Chan Pattama Polyong, Suppachai Iamkulworapong. (2014). Hematological effect on residents exposed to benzene in environment air pollution control, Mab Ta Phut area, Rayong province. The 21st Asian Conference on Occupational Health (ACOH). 2-4 September 2014. Fukuoka. Japan.

ระดับชาติ

ธนวัฒน์ หงษ์สา ฌาน ปัทมะ พลยง.(2568). การทำงานขณะป่วย ความเครียด และภาวะหมดไฟของครูไทยและต่างชาติ สอนระดับชั้นประถมศึกษา เขตเทศบาลเมืองชลบุรี. วารสารการแพทย์และสาธารณสุขเขต 4, 15(1), xxx-xxx. (accepted). (TCI1)

เชิดศิริ นิลผาย ฌาน ปัทมะ พลยง ชนพร พลดงนอก อารยา ดำช่วย. (2567). การประเมินความเสี่ยงและความพร้อมในการป้องกันและระงับอัคคีภัยของประชาชน ชุมชนบางไส้ไก่ เขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร. วารสารวิชาการเทคโนโลยีอุตสาหกรรม : มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา, 12(1). xxx-xxx. (accepted). (TCI2)

บุตรี เทพทอง ฌาน ปัทมะ พลยง กชวรรณ เลื่อนแก้ว อนันท์ทิพย์ ปล้องทอง อรทัย นามเย็น. (2567). เปรียบเทียบระหว่างคุณภาพอากาศกับอาการทางสุขภาพของผู้ปฏิบัติงานในสำนักงานมหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา กรุงเทพมหานคร. วารสารโรคและภัยสุขภาพ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 3 จังหวัดนครสวรรค์, 18(1), 52-64. (TCI1)

ฌาน ปัทมะ พลยง อนามัย เทศกะทึก.(2566). อาการทางสุขภาพจากการรับสัมผัสสารเบนซีนในความเข้มข้นระดับต่ำในกลุ่มผู้ปฏิบัติงานในพื้นที่สถานีให้บริการน้ำมันเชื้อเพลิง จังหวัดระยอง. วารสารวิชาการราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์, 5(4),179-190. (TCI1)

จุฑามาศ สิทัน ฌาน ปัทมะ พลยง.(2566). การศึกษาระบบไหลเวียนโลหิตขณะใส่ท่อช่วยหายใจ ระดับอาการไอและเจ็บคอหลังถอดท่อช่วยหายใจในผู้ป่วยเข้ารับการผ่าตัดชนิดไม่เร่งด่วนในผู้ป่วยที่ได้รับ Lidocaine spray เปรียบเทียบกับผู้ป่วยที่ได้รับ Lidocaine viscous ขณะใส่ท่อช่วยหายใจ. วารสาร Open access วิทยาลัยพระปกเกล้า จันทบุรี. 1-12.

ฌาน ปัทมะ พลยง เชิดศิริ นิลผาย บุตรี เทพทอง ชนพร พลดงนอก กิจจา จิตรภิรมย์. (2566). ความชุกของการเกิดอุบัติเหตุและปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมความปลอดภัยของผู้ขับขี่รถจักรยานยนต์สาธารณะของย่านการค้าแห่งหนึ่ง ในกรุงเทพมหานคร. วารสารการแพทย์และสาธารณสุข มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, 6(2), 82-92. (TCI2)

ฌาน ปัทมะ พลยง ชนพร พลดงนอก บุตรี เทพทอง เชิดศิริ นิลผาย ขวัญฤทัย ทีนาคะ.(2566). การปฏิบัติงาน สารเคมีในอากาศ และอาการทางสุขภาพของพนักงานบนรถโดยสารประจำทางแบบไม่ปรับอากาศ. วารสารสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 ขอนแก่น, 30(1),36-46.(TCI1)

ชนพร พลดงนอก ฌาน ปัทมะ พลยง กิจจา จิตรภิรมย์ โยธิน พลประถม ณัฐจิต อ้นเมฆ รัชนก ขำจันทร์. (2566). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับสมรรถภาพปอดของผู้ปฏิบัติงานในโรงงานแปรรูปไม้ : กรณีศึกษาโรงงานขนาดเล็กแห่งหนึ่ง จังหวัดสมุทรปราการ. วารสารโรคและภัยสุขภาพ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 3 จังหวัดนครสวรรค์, 17(1), 53-65.(TCI1)

สมชาย แพรพิรุณ ฌาน ปัทมะ พลยง อัมรา บุญสาหร่าย  มริสสา กองสมบัติสุข. (2566). ผลกระทบจากการแพร่ระบาดโรคติดเชื้อโควิด 19 ต่อผลลัพธ์ทางคลินิกของกลุ่มผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อ ในเขตเศรษฐกิจมาบตาพุด จังหวัดระยอง. วารสารควบคุมโรค, 49(1),21-35. (TCI1)

สมชาย แพรพิรุณ ฌาน ปัทมะ พลยง. (2565). การเปลี่ยนแปลงค่าความสมบูรณ์ของเลือดในขณะติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 และหลังจากการรักษา ในกลุ่มผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อ เขตมาบตาพุด จังหวัดระยอง. วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, 30(4),78-90. (TCI2)

ชนพร พลดงนอก ฌาน ปัทมะ พลยง. (2565). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการสูญเสียการได้ยินของพนักงานในสถานประกอบกิจการล้างรถในเขตบางแค กรุงเทพมหานคร. วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, 30(3),98-111. (TCI2)

อัมรา บุญสาหร่าย  ฌาน ปัทมะ พลยง  สมชาย แพรพิรุณ มริสสา กองสมบัติสุข. (2565). เปรียบเทียบระดับสารชีวเคมีในเลือดของผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่ได้รับยาต้านการติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 เขตมาบตาพุด จังหวัดระยอง. วารสารสุขศึกษา, 45(1),102-113. (TCI2)

ฌาน ปัทมะ พลยง พีรพล สุทธิวิเศษศักดิ์ สุรทิน มลีหวล ศุภชัย เอี่ยมกุลวรพงษ์ มริสสา กองสมบัติสุข ฉันทนา ผดุงทศ ณัฐพงศ์ แหละหมัน. (2564). การสำรวจความต้องการต่อการตรวจสารเคมีที่มีความสำคัญของภาคอุตสาหกรรมและศักยภาพในการวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการพิษวิทยา เพื่อรองรับเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก. วารสารสาธารณสุขมหาวิทยาลัยบูรพา, 16(2), 29-40.(TCI2)

ฌาน ปัทมะ พลยง ทนงศักดิ์ ยิ่งรัตนสุข จินตนา ศิริวราศัย อนามัย เทศกะทึก. (2564). เปรียบเทียบระดับกรดทรานส์ ทรานส์ มิวโคนิกระหว่างกลุ่มสัมผัสและไม่สัมผัสน้ำมันเชื้อเพลิงทางผิวหนังของพนักงานบริการน้ำมันเชื้อเพลิง จังหวัดระยอง, วารสารควบคุมโรค, 47(ฉบับเพิ่มเติม 1), 687-699.(TCI1)

ฌาน ปัทมะ พลยง ทนงศักดิ์ ยิ่งรัตนสุข จินตนา ศิริวราศัย อนามัย เทศกะทึก. (2564). ความสัมพันธ์ระหว่างกรดทรานส์ ทรานส์ มิวโคนิกในปัสสาวะกับผลกระทบต่อสารชีวเคมีในเลือดของพนักงานบริการน้ำมันเชื้อเพลิง จังหวัดระยอง. วารสารความปลอดภัยและสุขภาพ, 14(2), 178-196.(TCI1)

ดวงเดือน ฤทธิเดช ฌาน ปัทมะ พลยง มริสสา กองสมบัติสุข. (2564). ปัจจัยส่วนบุคคลและความรอบรู้สุขภาพด้านอาชีวอนามัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการส่งเสริมสุขภาพของพนักงานในนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด จังหวัดระยอง. วารสารวิจัยทางวิทยาศาสตร์สุขภาพ, 15(2), 13-24.(TCI1)

ดวงเดือน ฤทธิเดช ฌาน ปัทมะ พลยง. (2563). ผลของโปรแกรมการประยุกต์ทฤษฎี PRECEDE-PROCEED model ต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มพนักงานที่มีน้ำหนักเกินมาตรฐานในสถานประกอบการ จังหวัดระยอง. วารสารกองการพยาบาล, 47(3), 39-56.(TCI2)

ชนพร พลดงนอก ฌาน ปัทมะ พลยง. (2563). ปริมาณการรับสัมผัสสารเบนซีน โทลูอีน เอทธิวเบนซีน และไซลีน (บีเทค) ทางอากาศที่ส่งผลกระทบต่อระบบทางเดินหายใจและระบบประสาทของผู้ขับรถจักรยานยนต์รับจ้าง. วารสารวิจัยและพัฒนาด้านสุขภาพ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครราชสีมา, 6(2), 45-57.(TCI2)

ฌาน ปัทมะ พลยง ดวงเดือน ฤทธิเดช มริสสา กองสมบัติสุข กิตติพล ไพรสุทธิรัตน ขนิษฐา เสมานุสรณ์. (2563). การทดสอบแบบประเมินความรอบรู้สุขภาพด้านอาชีวอนามัยของพนักงานในโรงงานอุตสาหกรรม. วารสารความปลอดภัยและสุขภาพ, 13(2), 140-157.(TCI1)

ฌาน ปัทมะ พลยง ทอฝัน หินกาล จุฑามาศ แสนบี้ กิตติพิชญ์ เส้งขาว พสธร พรหมพินิจ กิจจา จิตรภิรมย์ เชิดศิริ นิลผาย. (2563). ความรู้สึกไม่สบายเชิงความร้อนจากการใช้ห้องเรียนในช่วงเวลาที่แตกต่างกันของนักศึกษามหาวิทยาลัยแห่งหนึ่ง ในกรุงเทพมหานคร. วารสารควบคุมโรค,46(3), 291-302.(TCI1)

ฌาน ปัทมะ พลยง ชนากานต์ กล้ากสิการ พนิดา จงจิตร ธัญชนก วงษ์เพ็ญ โยธิน พลประถม พิมพร พลดงนอก. (2563). การศึกษาแบบผสมผสานวิธี: พฤติกรรมการใช้สารกำจัดศัตรูพืชที่มีผลต่ออาการเฉียบพลันของเกษตรกร อำเภอภาชี จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. วารสารสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี, 9(1), 104-115.(TCI2)

มริสสา กองสมบัติสุข ฌาน ปัทมะ พลยง ดวงเดือน ฤทธิเดช. (2563). ความรอบรู้สุขภาพด้านอาชีวอนามัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการป้องกันโรคและการบาดเจ็บจากการทำงานของพนักงานในโรงงานอุตสาหกรรม. วารสารการแพทย์และสาธารณสุข มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, 3(2),112-120.(TCI2)

ทนงศักดิ์ ยิ่งรัตนสุข ฌาน ปัทมะ พลยง กาญจนา พิบูลย์ ธนิดา จุลนิชย์พงษ์ ภัทรา หิรัญรัตนพงศ์ พวงทอง อินใจ. (2563). รูปแบบการเสริมสร้างสุขภาพครูในโรงเรียนมัธยมศึกษาแห่งหนึ่งในภาคตะวันออก. วารสารควบคุมโรค, 46(2), 176-185.(TCI1)

ฌาน ปัทมะ พลยง ณัฐพล สาระพิมพา สิริยากร พุกการะเวก โชติรส ดีกล้า บุตรี เทพทอง พิมพร พลดงนอก. (2562). ผลกระทบต่อโครงร่างและกล้ามเนื้อจากการสะพายกระเป๋านักเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 ในโรงเรียนแห่งหนึ่ง กรุงเทพมหานคร. วารสารกรมการแพทย์, 44(4), 48-53.(TCI1)

อนุชา ภู่กลาง นลธวัช ทองตื้อ จงเจตน์ จงสมจิตร ฌาน ปัทมะ พลยง. (2562). ปัจจัยที่มีผลต่อระบบทางเดินหายใจจากการทำงานชุบทองแบบครัวเรือนของผู้ประกอบอาชีพในชุมชนเขตภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร. วารสารวิจัยและพัฒนาด้านสุขภาพ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครราชสีมา, 5(2), 108-120.(TCI2)

ทนงศักดิ์ ยิ่งรัตนสุข ฌาน ปัทมะ พลยง พรทิพย์ เย็นใจ. (2561). การตรวจสอบคุณภาพของแบบทดสอบทัศนคติด้านความปลอดภัยเพื่อใช้ประเมินทัศนคติด้านความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติงานในสำนักงาน ตามโครงการความปลอดภัยและอาชีวอนามัยของประเทศไทย. วารสารควบคุมโรค, 44(4), 388-399.(TCI1)

ดวงเดือน ฤทธิเดช ฌาน ปัทมะ พลยง มริสสา กองสมบัติสุข. (2561). ปัจจัยทำนายความรู้สึกไม่สบายบริเวณคอ ไหล่ และหลัง ของพนักงานในสำนักงานบริษัทเอกชนที่ใช้คอมพิวเตอร์ในจังหวัดระยอง. วารสารกรมการแพทย์, 43(6), 57-63.(TCI1)

กิจจา จิตรภิรมย์ ฌาน ปัทมะ พลยง ปิยะรัตน์ จิตรภิรมย์. (2561) การปนเปื้อนแบคทีเรียที่ดื้อยาปฏิชีวนะจากส้วมที่ตั้งในเขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร.วารสารควบคุมโรค, 44(1), 39-49.(TCI1)

ฌาน ปัทมะ พลยง. (2560). ปัจจัยด้านการยศาสตร์และผลกระทบต่อสุขภาพจากการใช้สมาร์ตโฟนของนิสิต มหาวิทยาลัยแห่งหนึ่ง กรุงเทพมหานคร. วารสารการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม, 40(4), 30-43.(TCI2)

ฌาน ปัทมะ พลยง มริสสา กองสมบัติสุข วรรณภา แสงศรีจันทร์ ขนิษฐา เสมานุสรณ์.  (2560). ความชุกและปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความผิดปกติของระบบโครงร่างและกล้ามเนื้อในกลุ่มบุคลากรของโรงพยาบาลแห่งหนึ่ง จังหวัดระยอง. วารสารควบคุมโรค, 43(3), 280-292.(TCI1)

ฌาน ปัทมะ พลยง พิมพร  พลดงนอก  ศิราณี เย็นใจ. (2559). ทดสอบสมรรถภาพร่างกายในงานอาชีวอนามัยของกลุ่มอาชีเกษตรกรทำนา อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี. วารสารก้าวทันโลกวิทยาศาสตร์, 16 (2),119-137.(TCI2)

ฌาน ปัทมะ พลยง มริสสา กองสมบัติสุข. (2559). โรคปอดจากการประกอบอาชีพและการทดสอบสไปโรเมตรีย์ในงานอาชีวอนามัย. วารสารก้าวทันโลกวิทยาศาสตร์, 16,16-36.(TCI2)

ฌาน ปัทมะ พลยง อนามัย เทศกะทึก นันทพร ภัทรพุทธ นลินี ศรีพวง. (2559). เปรียบเทียบระดับกรดทรานส์ ทรานส์มิวโคนิกในปัสสาวะระหว่างกลุ่มผู้ประกอบอาชีพริมถนนและกลุ่มสำนักงาน ในเขตมาบตาพุด จังหวัดระยอง. วารสารวิชาการสาธารณสุข. 25(6), 950-959.(TCI1)

กิจจา  จิตรภิรมย์  วลีรัตน์ ภมรพล  วชิระ สิงหคเชนทร์  ฌาน ปัทมะ พลยง. (2559).การประเมินความสะอาดของภาชนะสัมผัสอาหารในร้านอาหารตามสั่งในตลาดคลองเตย กรุงเทพมหานคร. วารสารความปลอดภัยและสุขภาพ, 9(2), 18-30.(TCI1)

จันทร์วิภา ดิลกสัมพันธ์ พรธิภา ไกรเทพ ณภัทร เตียววิไล จิราพร ทรงพระ วิทวัส กมุทศรี ฌาน ปัทมะ พลยง. (2559). ประสิทธิผลการสื่อสารเพื่อการปรับเปลี่ยนทัศนคติและความตั้งใจเกี่ยวกับการป้องกันการมีเพศสัมพันธ์ในวัยเรียน.วารสารก้าวทันโลกวิทยาศาสตร์, 15(2), 56-63.(TCI2)

ฌาน ปัทมะ พลยง. (2558). การเฝ้าระวังสุขภาพจากการรับสัมผัสสารเบนซีนของนักเรียนใกล้นิคมอุตสาหกรรมปิโตรเคมีมาบตาพุด. วารสารก้าวทันโลกวิทยาศาสตร์, 15, 35-46.(TCI2)

ฌาน ปัทมะ พลยง อนามัย เทศกะทึก นันทพร ภัทรพุทธ. (2558). เปรียบเทียบการรับสัมผัสสารเบนซีนและผลกระทบต่อสุขภาพของกลุ่มผู้ประกอบอาชีพริมถนนในเขตมาบตาพุด จังหวัดระยอง. วารสารความปลอดภัยและสุขภาพ, 8, 7-20.(TCI1)

ฌาน ปัทมะ พลยง ศุภชัย เอี่ยมกุลวรพงษ์ มริสสา กองสมบัติสุข. (2557). ระดับรายวันของสารมลพิษทางอากาศและปริมาณผู้ป่วยที่ได้รับการพ่นยาขยายหลอดลม ในแผนกอุบัติเหตุ-ฉุกเฉิน โรงพยาบาลมาบตาพุด จังหวัดระยอง. วารสารโรงพยาบาลชลบุรี. 39(2), 69-76.(TCI1)

รูปแบบนำเสนอวิชาการ

ธนวัฒน์ หงษ์สา ฌาน ปัทมะ พลยง. (2566). การประเมินความเสี่ยงด้านการยศาสตร์และสภาพแวดล้อมในโรงเรียนที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะที่ดีของนักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนประถมศึกษาแห่งหนึ่ง จังหวัดชลบุรี: กรณีศึกษานำร่อง. การประชุมวิชาการระดับนานาชาติ และระดับชาติ ราชภัฏวิจัย ครั้งที่ 7. วันที่ 14-16 พฤศจิกายน 2566 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร. หน้า 85-95.

ฌาน ปัทมะ พลยง มริสสา กองสมบัติสุข ดวงเดือน ฤทธิเดช. (2566). เปรียบเทียบความรอบรู้สุขภาพด้านอาชีวอนามัยและพฤติกรรมป้องกันการบาดเจ็บจากการทำงานของพนักงานในภาคอุตสาหกรรม : แบบประเมินที่แนะนำ. วันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2566 ณ. ศูนย์ประชุม โรงแรมบางแสนเฮอริเทจ ตำบลแสนสุข อำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี.

ฌาน ปัทมะ พลยง ทนงศักดิ์ ยิ่งรัตนสุข จินตนา ศิริวราศัย อนามัย เทศกะทึก. (2563). ตัวแปรกวนของกรดซอร์บิกที่ผสมในอาหารต่อดัชนีชี้วัดทางชีวภาพของสารเบนซีนก่อนเข้าทำงานในพนักงานให้บริการน้ำมันเชื้อเพลิง. การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 5 วันที่ 25 กันยายน 2563 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี. หน้า 149-158.

ศุภชัย เอี่ยมกุลวรพงษ์ ฌาน ปัทมะ พลยง มริสสา กองสมบัติสุข. (2558). การเปลี่ยนแปลงเอนไซม์ตับและโลหิตวิทยาของผู้ไม่สูบบุหรี่ที่มีโอกาสรับสัมผัสสารเบนซีน ในเขตนิคมอุตสาหกรรมปิโตรเคมีมาบตาพุด จังหวัดระยอง. การสัมมนาระบาดวิทยาแห่งชาติ ครั้งที่ 22 ระหว่างวันที่ 4-6 กุมภาพันธ์ 2558 ณ โรงแรมรามาการ์เด้นส์ กรุงเทพมหานคร.

รายงานฉบับสมบูรณ์วิจัย

ธนวัฒน์ หงษ์สา ฌาน ปัทมะ พลยง. (2565). การประเมินความเสี่ยงสภาพแวดล้อมในโรงเรียนที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะที่ดีของนักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนประถมศึกษาแห่งหนึ่ง จังหวัดชลบุรี.

อนามัย เทศกะทึก จินตนา ศิริวราศัย ฌาน ปัทมะ พลยง. (2564). รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง การทำนายสภาวะทางสุขภาพของแรงงานในสถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิงในเขตระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก เพื่อใช้เป็นแนวทางในการคัดกรองสุขภาพ. (ทุนวิจัย สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส)). https://prachatai.com/journal/2021/08/94742

ชนพร พลดงนอก ฌาน ปัทมะ พลยง. (2560). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับสารบีเทค (BTEX) และผลกระทบต่อสุขภาพของผู้ประกอบอาชีพขับรถจักรยายนต์รับจ้าง กรุงเทพมหานคร. (ทุนวิจัยมหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา)

รางวัลที่ได้รับ

เกียรติบัตร ผู้ที่มีผลงานวิชาการดีเด่น ของมหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ประจำปี 2566

เกียรติบัตร บุคลากรสายวิชาการดีเด่น ของมหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ประจำปี 2565

โล่รางวัลและเกียรติบัตร ผู้มีผลงานวิจัยตีพิมพ์ในระดับชาติและนานาชาติ

โล่รางวัล ผู้ที่มีผลงานวิจัยตีพิมพ์สูงสุดของคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปี 2566 (13 ฉบับ)

โล่รางวัล ผู้ที่มีผลงานวิจัยตีพิมพ์สูงสุดของคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปี 2565 (9 ฉบับ)

โล่รางวัล ตำแหน่งทางวิชาการระดับ รองศาสตราจารย์ ปี 2565

โล่รางวัล ตำแหน่งทางวิชาการระดับ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ (โดยวิธีพิเศษ) ปี 2559

โล่รางวัล ดีเด่น การนำเสนอ Oral presentation ผลงานวิจัย  เรื่อง "เปรียบเทียบความรอบรู้สุขภาพด้านอาชีวอนามัยและพฤติกรรมป้องกันการบาดเจ็บจากการทำงานของพนักงานในภาคอุตสาหกรรม : แบบประเมินที่แนะนำ" ในการประชุมสหวิชาการเพื่อสุขภาพ. วันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2566.

โล่รางวัล  ยอดเยี่ยม การนำเสนอ Oral presentation ผลงานวิจัยด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมและอาชีวอนามัย เรื่อง "การเปลี่ยนแปลงเอนไซม์ตับและโลหิตวิทยาของผู้ไม่สูบบุหรี่ที่มีโอกาสรับสัมผัสสารเบนซีน ในเขตนิคมอุตสาหกรรมปิโตรเคมีมาบตาพุด จังหวัดระยอง" ในสัปดาห์ระบาดวิทยาแห่งชาติ ครั้งที่ 22 ปี 2558

ผลงานอื่นๆ

หนังสือ

ฌาน ปัทมะ พลยง. (2565). อาชีวสุขศึกษา. โรงพิมพ์ บริษัท สหธรรมิก จำกัด. กรุงเทพ ฯ. (306 หน้า). ISBN: 978-616-568-582-5

ฌาน ปัทมะ พลยง. (2563). สุขภาพมูลฐานในผู้ประกอบอาชีพ. โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยราชภัฎบ้านสมเด็จเจ้าพระยา. กรุงเทพ ฯ. (280 หน้า). ISBN: 978-616-572-397-8

ฌาน ปัทมะ พลยง. (2562).สถิติวิจัยทางอาชีวอนามัย : เทคนิคการวิเคราะห์ด้วยโปรแกรมทางคอมพิวเตอร์ . โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยราชภัฎบ้านสมเด็จเจ้าพระยา. กรุงเทพ ฯ. (261 หน้า). ISBN: 978-616-497-882-9

คณะทำงานหนังสือร่วมกับมูลนิธิสัมมาอาชีวะ

การตรวจตัวบ่งชี้ทางชีวภาพของสารเคมีในอุตสาหกรรม

คำแนะนำเกี่ยวกับเชื้อไวรัสตับอักเสบบีในสถานที่ทำงาน

คำแนะนำเกี่ยวกับเชื้อเอชไอวีในสถานที่ทำงาน

คำแนะนำในการประเมินทางการแพทย์ผู้ใช้อุปกรณ์ปกป้องระบบทางเดินหายใจ: แบบสอบถามที่แนะนำ

คู่มือ

ฌาน ปัทมะ พลยง. (2566). แนวทางการฝึกประสบการณ์วิชาชีพสำหรับนักศึกษาด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย: วิชาการสู่การปฏิบัติ.

อนามัย เทศกะทึก จินตนา ศิริวราศัย ฌาน ปัทมะ พลยง. (2564). คู่มือคัดกรองสุขภาพของแรงงานที่รับสัมผัสสารบีเทคในสถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิง ในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก สำหรับบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข.

ฌาน ปัทมะ พลยง มริสสา กองสมบัติสุข ดวงเดือน ฤทธิเดช. (2563). คู่มือสื่อสารความเสี่ยงภาวะสุขภาพและการดูแลตนเองในผู้ที่มีโอกาสรับสัมผัสสารเบนซีน สำหรับกลุ่มอาชีพให้บริการน้ำมันเชื้อเพลิง.

ทนงศักดิ์ ยิ่งรัตนสุข ฌาน ปัทมะ พลยง สุรวิทย์ นันตะพร. (2563). คู่มือการสร้างสังคมสุขภาวะสำหรับครูในโรงเรียน.

ประเมินผลงานของวารสารวิจัย

วารสารสาธารณสุขมหาวิทยาลัยบูรพา, วารสารก้าวทันโลกวิทยาศาสตร์, วารสารวิจัยและนวัตกรรมทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, วารสารสุขศึกษา, วารสารวิจัยราชภัฏกรุงเก่า, การประชุมวิชาการระดับชาติวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ระหว่างสถาบัน ครั้งที่ 8, Journal of Health Research, Current Applied Science and Technology, Journal of Public Health and Development

ระดับบัณฑิตศึกษา นักวิจัย

ตรวจสอบเครื่องมือวิจัย มหาวิทยาลัยบูรพา, มหาวิทยาลัยมหิดล, มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, โรงพยาบาลจิตเวชราชนครินทร์, โรงพยาบาลเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพ ฯ ระยอง, สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 9 นครราชสีมา, สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 11 นครศรีธรรมราช

อาจารย์ที่ปรึกษาร่วม กรรมการสอบ 

คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช

วิทยากร

บรรยายให้แก่หน่วยงานรัฐ เอกชน ในหัวข้อต่าง ๆ เช่น การพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย (R2R) อาชีวอนามัยและความปลอดภัยสำหรับลูกจ้างใหม่ มาตรการอนุรักษ์การได้ยิน การส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในพนักงาน และระบาดวิทยาชุมชน เป็นต้น

หัวหน้าโครงการวิเคราะห์ข้อมูลสุขภาพของพนักงานในเขตนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด จังหวัดระยอง ให้แก่สถาบันปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย