Single View Blog 1
รศ.ดร.สุปราณี ศิริสวัสดิ์ชัย

ผลงาน

ความเชี่ยวชาญ

สื่อสารมวลชน การประกาศและดำเนินรายการ

ผลงานวิจัย / ผลงานวิชาการ

หนังสือ / ตำรา / เอกสารคำสอน / เอกสารประกอบการสอน

สุปราณี  ศิริสวัสดิ์ชัย (๒๕๖๑). เทคนิคการเป็นพิธีกร. มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา.

สุปราณี  ศิริสวัสดิ์ชัย (๒๕๖๑). สัมมนาการสื่อสารมวลชน. มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา.

สุปราณี  ศิริสวัสดิ์ชัย (๒๕๕๑). หลักวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์. มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา.

สุปราณี  ศิริสวัสดิ์ชัย (๒๕๕๑). การผลิตรายการวิทยุกระจายเสียง. มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา.

งานวิจัย

สุปราณี  ศิริสวัสดิ์ชัยและคณะ (๒๕๖๓). การสำรวจการปรับตัวของชุมชนวิถีใหม่ในสถานการณ์การระบาดของโรคโควิด-19 พื้นที่กรุงเทพมหานคร และ จ.สมุทรสาคร. ได้รับทุนสนับสนุนงานวิจัยจากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)                   (หัวหน้าโครงการ)

สุปราณี ศิริสวัสดิ์ชัยและคณะ (๒๕๖๓). การออกแบบเส้นทางการท่องเที่ยวสายอาหารสตรีทฟู้ดเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวระดับโลก กรณีศึกษา เขตธนบุรีและเขตคลองสาน. ได้รับทุนสนับสนุนงานวิจัยจากสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม (สกสว.) (หัวหน้าโครงการ)

สุปราณี  ศิริสวัสดิ์ชัยและคณะ (๒๕๖๑). การพัฒนารูปแบบการมีส่วนร่วมของประชาชนในการนำเสนอข่าวผ่านสื่อออนไลน์ ได้รับทุนสนับสนุนงานวิจัยจากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) (หัวหน้าโครงการ)

สุปราณี  ศิริสวัสดิ์ชัยและคณะ (๒๕๖๐). การพัฒนาผลิตภัณฑ์ของที่ระลึกจากผ้าทอของกลุ่มชาติพันธุ์ลาวอำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี  ได้รับทุนสนับสนุนงานวิจัยจากสํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) (หัวหน้าโครงการ)

สุปราณี  ศิริสวัสดิ์ชัยและคณะ (๒๕๖๐). การพัฒนาศักยภาพการจัดการผลิตภัณฑ์ชุมชนจากภูมิปัญญาท้องถิ่นของอำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี  ได้รับทุนสนับสนุนงานวิจัยจากสํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) (ผู้ร่วมวิจัย)

สุปราณี  ศิริสวัสดิ์ชัยและคณะ (๒๕๖๐). การสื่อสารอัตลักษณ์ชุมชนผ่านวัฒนธรรมภูมิปัญญาผ้าทอของกลุ่มชาติพันธุ์ลาว  อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี ได้รับทุนสนับสนุนงานวิจัยจากสํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) (ผู้ร่วมวิจัย)

สุปราณี  ศิริสวัสดิ์ชัยและคณะ (๒๕๕๗). ดัชนีชี้วัดความเป็นวิชาชีพของผู้ประกาศไทย. ได้รับทุนสนับสนุนงานวิจัยจากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) (หัวหน้าโครงการ)

สุปราณี  ศิริสวัสดิ์ชัยและคณะ (๒๕๕๔). โครงการวิจัยและพัฒนาหลักภาษาและวัฒนธรรมไทยสำหรับคนไทยในต่างประเทศ. สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (ผู้ร่วมวิจัย)

สุปราณี  ศิริสวัสดิ์ชัยและคณะ (๒๕๕๐). การศึกษาองค์ความรู้และแนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยวแบบยั่งยืนย่านกุฎีจีนและพื้นที่เกี่ยวเนื่องเขตธนบุรี. สำนักวัฒนธรรม กีฬา และการท่องเที่ยว กรุงเทพมหานคร. (ผู้ร่วมวิจัย)

บทความ / บทความวิจัย

สุปราณี  ศิริสวัสดิ์ชัยและคณะ (๒๕๖๓). “การสื่อสารอัตลักษณ์ชุมชนผ่านวัฒนธรรมภูมิปัญญาผ้าทอของกลุ่มชาติพันธุ์ลาว อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี” วารสารทีทัศน์วัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ปีที่ ๑๙ ฉบับที่ ๑ มกราคม-มิถุนายน ๒๕๖๓.

สุปราณี  ศิริสวัสดิ์ชัยและคณะ (๒๕๖๓). “การพัฒนาผลิตภัณฑ์ของที่ระลึกจากผ้าทอของกลุ่มชาติพันธุ์ลาว อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี”วารสารทีทัศน์วัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ปีที่ ๑๘ ฉบับที่ ๒ กรกฎาคม-ธันวาคม  ๒๕๖๒.

สุปราณี  ศิริสวัสดิ์ชัย (๒๕๖๒). “รูปแบบการฝึกอบรมผ่านเว็บเพื่อพัฒนาสมรรถนะของผู้ประกาศ”. วารสารนิเทศศาสตรปริทัศน์ มหาวิทยาลัยรังสิต  ปีที่ ๒๒ ฉบับที่ ๒ มกราคม-มิถุนายน ๒๕๖๒.

สุปราณี  ศิริสวัสดิ์ชัย (๒๕๖๒). “สมรรถนะของผู้ประกาศในสื่อวิทยุและโทรทัศน์”. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์  มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา  ปีที่ ๑๓ ฉบับที่ ๑ มกราคม-มิถุนายน ๒๕๖๒.

สุปราณี  ศิริสวัสดิ์ชัยและคณะ (๒๕๕๙). “ดัชนีชี้วัดความเป็นวิชาชีพของผู้ประกาศไทย”. วารสารวิจัยและพัฒนา  มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย  ปีที่ ๑๑ ฉบับพิเศษ ๒๕๕๙.

สุปราณี  ศิริสวัสดิ์ชัย (๒๕๕๕). “ทักษะด้านภาษา : ความสามารถหลักของผู้ประกาศ”. ทีทัศน์วัฒนธรรม   ปีที่ ๑๑ (๒๕๕๕) : ๒๑๕.

สุปราณี  ศิริสวัสดิ์ชัย (๒๕๕๓). “น่าน...ไม่นานก็เลย”. บริบทวัฒนธรรม ปีที่ ๙ (๒๕๕๓) : ๑๒๑.

บริการวิชาการ

สุปราณี  ศิริสวัสดิ์ชัยและคณะ (๒๕๖๔). การพัฒนาการท่องเที่ยวและผลิตภัณฑ์ชุมชนยกระดับคุณภาพชีวิต ตำบลสระพังลานเพื่อสื่อสารอัตลักษณ์ท้องถิ่นบนแพลตฟอร์มต้นแบบ ตำบลสระพังลาน  อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี. โครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบลแบบบูรณาการ (มหาวิทยาลัยสู่ตำบล) มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา (หัวหน้าโครงการ)

สุปราณี  ศิริสวัสดิ์ชัยและคณะ (๒๕๖๓). เคยกระซ้าขาว : การพัฒนาบรรจุภัณฑ์และฉลากผลิตภัณฑ์. งานพัฒนาผลิตภัณฑ์ตามโครงการยุทธศาสตร์พัฒนาท้องถิ่น (ชุมชนวิสาหกิจบ้านกระซ้าขาว จ.สมุทรสาคร)  โดยคณะวิทยาการจัดการ  มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา (หัวหน้าโครงการ)

รางวัลที่ได้รับ

ผลงานอื่นๆ