Single View Blog 1
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นาวาอากาศโท ดร.สมบัติ สมศรีพลอย

ผลงาน

ความเชี่ยวชาญ

  • คติชนวิทยา (เพลงพื้นบ้านภาคกลาง  หนังตะลุงเมืองเพชร)
  • การแต่งคำประพันธ์
  • ภาษาบาลี-สันสกฤตในภาษาไทย
  • วรรณคดี

ผลงานวิจัย / ผลงานวิชาการ

  1. สมบัติ  สมศรีพลอย. (2558). กำนลครูกำนัลคุณ : รวมบทความคัดสรรด้านเพลงพื้นบ้านเพื่อแสดงมุทิตาจิตแด่ปูชนียาจารย์ด้านเพลงพื้นบ้านศึกษาของไทย ในโอกาสได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติ ศาสตราจารย์สุกัญญา สุจฉายา อาจารย์เอนก นาวิกมูล / อภิลักษณ์ เกษมผลกูล, บรรณาธิการ, นครปฐม :ศูนย์สยามทรรศน์ศึกษา คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล.
  2. สมบัติ  สมศรีพลอย. (2559). หนังตะลุงเมืองเพชร : สายครูและการสืบทอดการแสดง. การประชุมวิชาการระดับชาติ SMARTS ครั้งที่ 6  วันที่ 17 มิถุนายน 2559. หน้า 909-921.
  3. สมบัติ  สมศรีพลอย. (2559). กลอนแดง : วัจนกรรมบริภาษยอกย้อนในเพลงอีแซว. วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร. ปีที่ 36 ฉบับที่ 2. หน้า 113-126.
  4. สมบัติ  สมศรีพลอย. (2559). หนังตะลุงเมืองเพชร: การศึกษาเชิงบทบาทหน้าที่. วารสารวรรณวิทัศน์.  ปีที่ 16 ฉบับเดือนพฤศจิกายน. หน้า 76-100.
  5. สมบัติ  สมศรีพลอย. (2561). ลักษณะพระโพธิสัตว์จากคัมภีร์พุทธประวัติ ตอน “ผจญมาร” ตามแนวคิด  แบบเถรวาทและมหายาน. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จ     เจ้าพระยา. ปีที่ 12 ฉบับที่ 1. หน้า 73-88.
  6. สมบัติ  สมศรีพลอย. (2559). วรรณกรรมหนังตะลุงเมืองเพชร: สิ่งศักดิ์สิทธิ์กับความเชื่อทางศาสนาในพิธีกรรมไหว้ครู. วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร. ปีที่ 39 ฉบับที่ 2 (มีนาคม-เมษายน). หน้า 13-30.
  7. สมบัติ  สมศรีพลอย.(2562). การตัดสินบนในพิธีกรรมบนหนังตะลุงเมืองเพชร.วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา. ปีที่ 13 ฉบับที่ 1.  (มกราคม-มิถุนายน)หน้า 32-52.
  8. สมบัติ  สมศรีพลอย. (2562). มุกตลกการเมือง: เนื้อหาและกลวิธีการสร้างอารมณ์ขันในหนังตะลุง    เมืองเพชร. Veridian E-Journal Silpakorn University.  Vol. 12 No. 6 ( November – December). หน้า 1590-1609.
  9. สมบัติ  สมศรีพลอย. (2563). ความสัมพันธ์เชิงอำนาจ: การดำรงอยู่ของหนังตะลุงเมืองเพชร.วารสารอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. ปีที่ 42 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม) หน้า 304-320.
  10. สมบัติ  สมศรีพลอย จิตติมา ทองอ่อน และวันวิสาข์ สำนองคำ. (2563). ความเชื่อและการประกอบสร้างภาพลักษณ์สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง  บุนนาค) ของบุคลากรในมหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา.วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา. ปีที่ 14 ฉบับที่ 1. (มกราคม-มิถุนายน) หน้า 61-81.
  11. สมบัติ  สมศรีพลอย ธิดาวัฒน์  สุพุทธิกุล และภาสินี คำสีสุข. (2563). ภาพลักษณ์และบทบาทผู้หญิงจากเพลงลูกทุ่งในปี พ.ศ. 2557-2561. วารสารสารสนเทศ. ปีที่ 19 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน)       หน้า 83-92.
  12. สมบัติ  สมศรีพลอย. (2563). การบอกเรื่องหนังตะลุงเมืองเพชร: การลำดับเนื้อหาและลักษณะสะท้อนทางสังคมวัฒนธรรม. วารสารมนุษยสังคมปริทัศน์. ปีที่ 22 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม) หน้า 145-158.
  13. สมบัติ  สมศรีพลอย. (2562). บทเย้ย : วิวาทปฏิพากย์ในเพลงทรงเครื่อง. สาขาวิชาภาษาไทยคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา.
  14. สมบัติ  สมศรีพลอย. (2563). “ภูกระดึง”: บทเพลงแห่งวรรณศิลป์. สาขาวิชาภาษาไทยคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา.
  15. สมบัติ สมศรีพลอย. (2564). การไหว้ครูเพลงอีแซว จังหวัดสุพรรณบุรี: พิธีกรรมการสื่อสารต่อโลกศักดิ์สิทธิ์และโลกสามัญ. วารสารทีทัศน์วัฒนธรรม. ปีที่ 20 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม) หน้า 119-139.
  16. สมบัติ สมศรีพลอย. (2564). ไตรภูมิพระร่วง: คติความเชื่อเรื่อง “นรก” ปรากฏการณ์การผลิตซ้ำในเพลงลูกทุ่งปัจจุบัน. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา. ปีที่ 17 ฉบับที่ 2. (กรกฎาคม-ธันวาคม) หน้า 274-303.
  17. สมบัติ สมศรีพลอย. (2564). เพลงเกริ่น” เพลงฉ่อย: เสน่ห์เพลงพื้นบ้านภาคกลาง. วารสารวิชาการ The New Viridian Journal of Arts, Humanities and Social Sciences (สาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ). ปีที่ 1 ฉบับที่ 6 (พฤศจิกายน-ธันวาคม) หน้า 44-60.
  18. อติวิชญ์  เซี่ยงคิ้ว เเละ สมบัติ  สมศรีพลอย. (2564).  การผลิตซ้ำความเชื่อเรื่องผีและอำนาจเหนือธรรมชาติผ่านตัวละครเอก “เติร์ด” ในนวนิยายวายออนไลน์เรื่อง “Y-DESTINY หรือเป็นที่พรหมลิขิต” ในฐานะสื่อวัฒนธรรมประชานิยม. วารสารจันทรเกษมสาร ปีที่ 27 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม–ธันวาคม) หน้า 353-372.
  19. สมบัติ สมศรีพลอย. (2565). กลวิธีการสร้างสรรค์เนื้อหาลักษณาการปฏิพากษ์พจน์ในบทเพลงฉ่อย. วารสารสถาบันวิจัยเเละพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน) หน้า 87-99.
  20. กัญญาณัฐ ฤกษ์วิถี เเละ สมบัติ สมศรีพลอย. (2565). วัจนลีลาการขายสินค้าของมาร์กี้ช็อปในวัฒนธรรมการขายสินค้าออนไลน์. วารสารวิชาการสถาบันพัฒนาพระวิทยากร ปีที่ 5 ฉบับที่ 3 (กรกฎาคม-กันยายน) หน้า 1-13.
  21. พัชระ รุจิรานัน เเละสมบัติ สมศรีพลอย. (2565). เรื่องเล่าจตุคามรามเทพตามเเนวคิดโลกสามมิติ. วารสาร มจร พุทธศาสตร์ปริทรรศน์  ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 (กันยายน-ธันวาคม) หน้า 1-20.
  22. สมบัติ สมศรีพลอย. (2566). โครงสร้างภาพเเละการเล่าเรื่อง: ศิลปะส่องสัมพันธ์ระหว่างวรรณกรรมพุทธประวัติ เรื่อง ปฐมสมโพธิกถากับจิตรกรรมฝาผนังวัดหงส์รัตนารามราชวรวิหาร. วารสาร มจร อุบลปริทรรศน์ (TCI) มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตอุบลราชธานี ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน) หน้า 33-51.
  23. พระมหาอวยชัย เชื้อดวงผุย, นาวาอากาศโท ดร.สมบัติ สมศรีพลอย เเละผศ.ดร.ธรรณปพร หงษ์ทอง. (2566). ลักษณาการเเละบทบาทหน้าที่ "ความชราภาพ" ของพระโพธิสัตว์ในอรรถกถาเเปล ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย. วารสาร มจร อุบลปริทรรศน์ (TCI) มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตอุบลราชธานี ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน) หน้า 1-16.
  24. พระมหาธีรวุฒิ เเง่ธรรม และ นาวาอากาศโท ดร.สมบัติ สมศรีพลอย. (2566). เนื้อหาการประทุษวาจาในอรรถกถาเเปล ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย. วารสาร มจร อุบลปริทรรศน์ (TCI) มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตอุบลราชธานี ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน) หน้า 17-32.
  25. สมบัติ สมศรีพลอย, สุภัทรา จันทะคัด เเละวาสิฏฐี สุวรรณพาณิชย์. (2566). เพลงอีแซวรุ่นเก่า: การใช้คำอุทานเสริมอรรถรสในบทปฏิพากย์. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา. ปีที่ 17 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน) หน้า 314-336.
  26. สมบัติ สมศรีพลอย. (2566). อำนาจ ปักษาสุข และ อนุชิต ตู้มณีจินดา (บรรณาธิการ) “‘เพศ’ ในบทเพลง: ปรากฏการณ์ทางสังคมใน ‘TikTok’” ภาษา สังคม สมชาย หนังสือรวมบทความวิชาการและบทความวิจัย ด้านภาษาไทยและภาษาศาสตร์ เนื่องในวาระเกษียณอายุราชการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สมชาย สำเนียงงาม 5 มิถุนายน 2566.
  27. สมบัติ สมศรีพลอย. (2566). พระปฐมสมโพธิกถา:  การเปรียบเทียบความสัมพันธ์ระหว่างวรรณกรรมพุทธประวัติกับจิตรกรรมฝาผนังวัดหงส์รัตนารามราชวรวิหารสู่การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม.วารสาร มจร อุบลปริทรรศน์ (TCI) มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตอุบลราชธานี. ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม) หน้า 27-42.
  28. พระมหาธีรวุฒิ เเง่ธรรม, สมบัติ สมศรีพลอย และ อัควิทย์ เรืองรอง. (2566). เนื้อหาการประทุษวาจาของ พระโพธิสัตว์กับการบำเพ็ญบารมีสู่การหลุดพ้นในอรรถกถาแปลฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย. วารสาร มจร อุบลปริทรรศน์ (TCI) มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตอุบลราชธานี. ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม) หน้า 421-434.
  29. สมบัติ สมศรีพลอย. (2566).  การทำขวัญนาค คณะหมอขวัญสายลม ศิษย์สุรินทร์ ตำบลหนองโอ่ง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี: องค์ประกอบ ขั้นตอน และสัญลักษณ์ในพิธีกรรม. วารสาร มจร อุบลปริทรรศน์ (TCI) มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตอุบลราชธานี. ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 (กันยายน-ธันวาคม) หน้า 909-924.
  30. หลี่ เจี้ยน และ สมบัติ สมศรีพลอย. (2567). เทศกาลตรุษจีน: กลวิธีการใช้ภาษาในแผ่นป้าประชาสัมพันธ์ออนไลน์ของสถาบันขงจื่อในประเทศไทย. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา. ปีที่ 18 ฉบับที่ 1 (มกราคม – มิถุนายน)  หน้า 289-321.
  31. หลี่ ดานน่า และ สมบัติ สมศรีพลอย. (2567). มังกร: รูปลักษณ์และความเชื่อในสินค้าของเพจขายสินค้าShopee และ Lazada.  วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา. ปีที่ 18 ฉบับที่ 1 (มกราคม – มิถุนายน)  หน้า 322-355.

 

งานวิจัย

  1. บัวผัน  สุพรรณยศ สมบัติ  สมศรีพลอยและคณะ. (2557). การวิจัยเพื่อรวบรวมและจัดเก็บข้อมูลมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม: เพลงพื้นบ้านภาคกลาง. ได้รับทุนวิจัยจากกรมส่งเสริมวัฒนธรรมกระทรวงวัฒนธรรม พ.ศ. 2557. จำนวน 591 หน้า.
  2. สมบัติ สมศรีพลอย. (2565). การวิจัยเรื่อง "เพลงฉ่อย: กลวิธีการประทุษวาจาและบทบาทหน้าที่ในการแสดงเพลงปฏิพากย์”. จำนวน 99 หน้า.
  3. สมบัติ สมศรีพลอย. (2566) การวิจัยเรื่อง “พระปฐมสมโพธิกถา: การเปรียบเทียบความสัมพันธ์ระหว่าง
    วรรณกรรมพุทธประวัติกับจิตรกรรมฝาผนังวัดหงส์รัตนารามราชวรวิหารสู่การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม”
    ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากมหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ปีงบประมาณ 2564. จำนวน 225 หน้า.
  4. สมบัติ สมศรีพลอย. (2566). การวิจัยเรื่อง "การทำขวัญนาค คณะหมอขวัญสายลม ศิษย์สุรินทร์ ตำบลหนองโอ่ง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี: องค์ประกอบ ขั้นตอน และสัญลักษณ์ในพิธีกรรม" ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัย จาก คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566. จำนวน 181 หน้า.

 

ตำรา/หนังสือ

  1. ตำราวิชา ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารร่วมสมัย. บทที่ 5 การอ่านอย่างมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์. สำนักวิชาศึกษาทั่วไป มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา.
  2. เอกสารประกอบการสอน วิชา วรรณกรรมขนบประเพณีเเละศาสนา. (2565). สาขาวิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์เเละสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา.
  3. สมบัติ  สมศรีพลอย. (2566). พุทธประวัติคำโคลงจิตรกรรมวัดหงส์. กรุงเทพฯ: อาร์ตบุ๊ค.

 

การนำเสนอผลงานวิชาการ

  1. สมบัติ  สมศรีพลอย. (2559). หนังตะลุงเมืองเพชร : สายครูและการสืบทอดการแสดง. การประชุมวิชาการระดับชาติ SMARTS ครั้งที่ 6  วันที่ 17 มิถุนายน 2559. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์   วิทยาเขตศรีราชา.
  2. Somsriploy,S. (2016). Building Characteristics of Bodhisattva from the Part “Overcoming Mara” : A Comparative Study between Theravada and Mahayana. International Conference  Commemorating the 50 th Anniversary of the Department of Thai Hankuk University of Foreign Studies Republic  27 October 2016. Hankuk University of Foreign Studies Republic, Korean.
  3. สมบัติ  สมศรีพลอย. (2561). หนังตะลุงเมืองเพชร : ลำดับสิ่งของศักดิ์สิทธิ์ในบทไหว้ครูกับความเชื่อทางศาสนา. การประชุมวิชาการระดับชาติด้านภาษาไทย วิวิธวิจัยภาษาไทย ครั้งที่ 1 วันเสาร์ที่ 2 มิถุนายน 2561 อาคารมหาจักรีสิรินธร คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
  4. สมบัติ  สมศรีพลอย. (2562). มุกตลกการเมือง : เนื้อหาและกลวีการสร้างอารมณ์ขันในหนังตะลุงเมืองเพชร. การประชุมวิชาการระดับชาติด้านภาษาไทย วิวิธวิจัยภาษาไทย ครั้งที่ 2 วันเสาร์ที่ 25 พฤษภาคม 2562 อาคารมหาวชิรมงกุฎ คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร.

 

สารนิพนธ์/วิทยานิพนธ์

  1. สมบัติ  สมศรีพลอย.  (2538). การวิเคราะห์วรรณกรรมเฉลิมพระเกียรติสามรัชกาลเปรียบเทียบกับพระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์. สารนิพนธ์อักษรศาสตรบัณฑิต  ภาควิชาภาษาไทย  คณะอักษรศาสตร์  มหาวิทยาลัยศิลปากร
  2. สมบัติ  สมศรีพลอย. (2548) การศึกษาอุปมาในพุทธจริต. สารนิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาตะวันออก  คณะโบราณคดี  มหาวิทยาลัยศิลปากร.
  3. สมบัติ  สมศรีพลอย. (2563). “วรรณกรรมหนังตะลุงเมืองเพชร: ประเภทของวรรณกรรมในบริบทการบันเทิงเฉพาะถิ่น.” วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิต ภาควิชาภาษาไทย บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.

 

ปริทัศน์หนังสือ

  1. สมบัติ สมศรีพลอย. (2566). ปริทัศน์หนังสือ (Book Review) พุทธประวัติคำโคลงจิตรกรรมวัดหงส์. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา. ปีที่ 17 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน) หน้า 394-399.
  2. สมบัติ สมศรีพลอย. (2567). ปริทัศน์หนังสือ (Book Review) วัยเก๋าเล่าเรื่อง@ฝั่งธนฯ. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา. ปีที่ 18 ฉบับที่ 1 (มกราคม – มิถุนายน)  หน้า 406-411.

 

บทความปกิณกะ

  1. ทัศนศิลป์ส่องทางรังสรรค์วรรณศิลป์
  2. “กาลนุสรณ์สุนทรภู่”
  3. “การเหยียบหมา”
  4. “หยิบข้าว”
  5. คชสารสังวาส
  6. “คุรุบูชา” วิชาการ
  7. เพลงพวงมาลัย บ้านเขาหลวง-ธงชัย เมืองเพชร มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม
  8. “เสน่ห์หนังตะลุงปักษ์ใต้ : วรรณกรรม สังคม อารมณ์ขัน”

 

ผลงานประพันธ์

  1. สมบัติ  สมศรีพลอย. (2538). แววอักษร. ภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์  มหาวิทยาลัยศิลปากร.
  2. สมบัติ  สมศรีพลอย. (2547). แหวนรุ่น. กองวิชาภาษาไทย โรงเรียนเตรียมทหาร กองบัญชาการทหารสูงสุด.
  3. สมบัติ  สมศรีพลอย. (2547). รำพึงในจักรดาว. กองวิชาภาษาไทย โรงเรียนเตรียมทหาร กองบัญชาการทหารสูงสุด.
  4. สมบัติ  สมศรีพลอย. (2553). โศลกเรือจ้าง. เพชรบุรี: เพชรภูมิ.
  5. สมบัติ  สมศรีพลอย. (2556). เพลงทรงเครื่อง เรื่อง ตำนานพญากง พญาพาน. วันที่ 18 มิถุนายน 2556,  เนื่องในโอกาส  70 ปี มหาวิทยาลัยศิลปากร และ 45 ปี วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์.
  6. สมบัติ  สมศรีพลอย. (2556). เพลงทรงเครื่อง เรื่อง ขุนช้างขุนแผน ตอน พลายแก้วล่องทัพ. 18 กันยายน 2556, ณ ศูนย์มานุษยวิยาสิรินธร งานกษียณอายุราชการ ผศ.ชุมสาย สุวรรณชมภู อาจารย์ประจำภาควิชาภาษาไทย  คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร.
  7. สมบัติ  สมศรีพลอย. (2561). คำฉันท์อาศิรวาท "ปุณย์ชาติศาสตร์นวมินทร์" ศรีสมเด็จ'62 สมาคมศิษย์เก่าบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ในพระบรมราชูปถัมภ์ พุทธศักราช 2562.
  8. สมบัติ  สมศรีพลอย. (2561). บทเพลงทรงเครื่อง "กุหลาบไพลิน" อนุสรณ์การแสดงมุทิตาจิต งานเกษียณอายุราชการ รศ.ดร.อุบล  เทศทอง  ภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร.
  9. สมบัติ  สมศรีพลอย. (2562). บทเพลงพื้นบ้าน ใจราษฎร์รัก วรรณคดีพระธีรราชเจ้า. วันเสาร์ที่ 17 สิงหาคม 2562 ณ ห้องประชุม ตึกนวมภูมินทร์ โรงเรียนวชิราวุธวิทยาลัย.
  10. สมบัติ  สมศรีพลอย. (2562). บทอาศิรวาท "เเถลงปางภิเษกราช" เนื่องในวโรกาสพระราชพิธีบรมราชาภิเษก ร.10 ในนามคณะมนุษยศาสตร์เเละสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา.
  11. สมบัติ  สมศรีพลอย. (2563). บทเพลงพื้นบ้าน หน้าม่านภาษาไทย การแสดง “ภาษาไทยเพื่อการอาชีพในศตวรรษที่ 21” โครงการพัฒนานักศึกษาเพื่อยกระดับการจัดการศึกษาสู่ยุคไทยแลนด์ 4.0 : “ภาษาไทยเพื่อการประกอบอาชีพ ในศตวรรษที่ 21” วันพุธ ที่ 19 สิงหาคม 2563 ณ โรงละครศรีสุริยวงศ์ อาคาร 150 ปี มหาบุรุษรัตโนดม (ช่วง  บุนนาค).
  12. สมบัติ  สมศรีพลอย. (2563). บทเสภา “ช่อชงโคลาสถานบ้านสมเด็จ”. งานเกษียณอายุราชการ  “กษณเวียณ เกษียณอายุราชการ มงคลวารแห่งชีวิต. วันศุกร์ที่ 18 กันยายน 2563 ณ ห้องสีหราชเดโชชัย อาคาร 27 คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์.
  13. สมบัติ  สมศรีพลอย. (2563). บทละครเวที เรื่อง ดอยรวก. โครงการ “เรื่องเล่า/เล่าเรื่อง: แนวทางการศึกษาวรรณกรรมไทย” วันพุธที่ 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2563 ณ โรงละครศรีสุริยวงศ์ อาคาร 150 ปี มหาบุรุษรัตโนดม (ช่วง  บุนนาค).
  14. สมบัติ  สมศรีพลอย. (2566). พุทธประวัติคำโคลงจิตรกรรมวัดหงส์. กรุงเทพฯ: อาร์ตบุ๊ค.
  15. สมบัติ สมศรีพลอย. (2566). เพลงทรงเครื่อง เรื่องขุนช้างขุนแผน ตอน ครื้นเครงละเลงกิมจิ. โครงการภาษา
    รื่นรมย์ สังคมรื่นเริง: บริการวิชาการเนื่องในวาระเกษียณอายุราชการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สมชาย
    สำเนียงงาม วันจันทร์ที่ 5 มิถุนายน 2566 ณ ห้องประชุมหม่อมหลวงบุญเหลือ เทพยสุวรรณ อาคาร 36 ปี คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์

รางวัลที่ได้รับ

ผลงานอื่นๆ

  1. การสนทนาวิชาการหนังสือเก่าชาวสยาม ครั้งที่ ๗ เรื่อง “วรรณกรรมวัดเกาะ : ความรุ่งโรจน์และการแพร่หลายของนิทานพื้นบ้าน” วันอังคารที่ ๒๓ ธันวาคม ๒๕๕๗ ณ หอประชุมใหญ่
  2. สาธิตร้องเพลงพื้นบ้าน ไขความรู้วรรณกรรมตำราเพศศาสตร์ กิจกรรมส่งเสริมความรู้เนื่องในวันภาษาไทยแห่งชาติ ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร
  3. เพลงทรงเครื่อง พญากงพญาพาน มหาวิทยาลัยศิลปากร
  4. ฉ่อย @สถานสงเคราะห์คนชราบ้านนครปฐม
  5. เพลงทรงเครื่อง พิกุลทอง
  6. กรรมการเเละเหรัญญิก "สมาคมเพลงพื้นบ้านภาคกลางประเทศไทย"
  7. บัวผัน  สุพรรณยศ น.ท.สมบัติ  สมศรีพลอย เเละโอฬาร  รัตนภักดี. เพลงทรงเครื่อง "หงส์หิน"  งาน "เดินตามรอยครู เชิดชูเพลงเก่า น้อมเกล้าฯ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวครั้งที่ 5" (ตามรอยครูกัญญรัตน์ เวชชศาสตร์) วันศุกร์ที่ 27 เมษายน 2555 @ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร ตลิ่งชัน