Single View Blog 1
เชาวน์มนัส ประภักดี

ผลงาน

ความเชี่ยวชาญ

วัฒนธรรมดนตรี / ดนตรีไทย / ศิลปวัฒนธรรม / ปรากฏการณ์ทางสังคมวัฒนธรรม

ผลงานวิจัย / ผลงานวิชาการ

หนังสือ/ตำรา
เชาวน์มนัส ประภักดี. (2560). พื้นฐานมานุษยวิทยาดนตรี. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา.

เชาวน์มนัส  ประภักดี พัชรินทร์  เกตุจำนง และนฤมล  วงษ์เดือน. (2557). เล่าเรื่องจากประสบการณ์ “การประสานงานโครงการวิจัยแบบข้ามวัฒนธรรม”. ใน ดวงพร  คำนูณวัฒน์ (บรรณาธิการ), ภาษาและวัฒนธรรม: หลักประกันของสังคมสุขภาวะ. 221 – 257. กรุงเทพฯ: ห้างหุ้นส่วนจำกัด ธิ้งค์ เมท.

งานวิจัย
เชาวน์มนัส ประภักดี. (2565). การประกวดดนตรีไทย: ประวัติ พัฒนาการ และคุณค่าในบริบทสังคมไทย. มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา.

เชาวน์มนัส ประภักดี, ตั้งปณิธาน อารีย์. (2561). การสร้างเครื่องดนตรีจากอัตลักษณ์ทางชาติพันธุ์เพื่อสร้างรายได้เสริมและยกระดับเศรษฐกิจชุมชนอำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี. ภายใต้ชุดโครงการดนตรีที่พัฒนาจากอัตลักษณ์ชาติพันธุ์ของอำเภออู่ทองผ่านนวัตกรรมการประพันธ์เพลงและการสร้างสรรค์เครื่องดนตรีเพื่อสร้างรายได้ โดยมีกระบวนกาถ่ายทอดสู่ท้องถิ่นผ่านการเรียนการสอนดนตรีในหลักสูตรพื้นฐาน. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)

เชาวน์มนัส ประภักดี. (2561). การรวบรวม วิเคราะห์และสังเคราะห์สถานภาพองค์ความรู้ดนตรีอาเซียนในประเทศไทย. มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา.

ถนอมศรี เปลี่ยนสมัย, เชาวน์มนัส ประภักดี, สรรพารี ยกย่อง. (2558). การมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างศักยภาพเด็ก เยาวชนบนฐานความหลากหลายทางวัฒนธรรม. ภายใต้แผนการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็ก เยาวชน และชุมชนบนฐานความหลากหลายทางวัฒนธรรม. สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.).

เชาวน์มนัส ประภักดี. (2557). การวิเคราะห์วาทกรรม “พม่า” ในผลงานดนตรีของหลวงวิจิตรวาทการ. สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา.

บทความเผยแพร่
ธนาธิป เผ่าพันธุ์, เชาวน์มนัส ประภักดี. (2567). การประพันธ์เดี่ยวฆ้องวงเล็ก. วารสารแก่นดนตรีและการแสดง มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 6(1). 91-112.

ชญานนท์ ศรีอนันต์, เชาวน์มนัส ประภักดี. (2566). กลวิธีการถ่ายทอดการบรรเลงซอสามสายของผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.รัชวิช มุสิการุณ. วารสารดนตรีบ้านสมเด็จฯ, 5(2). 133-144.

เชาวน์มนัส ประภักดี. (2566). ดนตรีไทยร่วมสมัยในบริบทสังคมไทย. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยหอการค้าไทย มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 43(2). 98-113.

เชาวน์มนัส ประภักดี. (2566). การประกวดดนตรีไทย: ประวัติ พัฒนการ และคุณค่าในบริบทสังคมไทย. วารสารดนตรีบ้านสมเด็จฯ, 5(1). 19-34.

เชาวน์มนัส ประภักดี. (2565). การรวบรวม วิเคราะห์ และสังเคราะห์สถานภาพองค์ความรู้ดนตรีอาเซียนในประเทศไทย. วารสารสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพรยะา, 7(2). 20-31.

จิตต์เดช โอภาสสุริยะ, เชาวน์มนัส ประภักดี. (2565). การศึกษากระบวนการถ่ายทอดการบรรเลงจะเข้ของครูชัยรัตน์ วีระชัย. วารสารดนตรีบ้านสมเด็จฯ. 4(1). 1-12.

ธเนศ มลิชู, เชาวน์มนัส ประภักดี. (2565). การถ่ายทอดการบรรเลงจะเข้ของครูสิทธิชัย ศรกาญจน์. ในเอกสารประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติด้านดนตรี ACTION ครั้งที่ 1, 22 เมษายน 2565 ณ คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, ประเทศไทย. 9 - 17.

ฐิติพงศ์ ราชวงศ์, เชาวน์มนัส ประภักดี. (2564). การถ่ายทอดเดี่ยวจะเข้เพลงพญาโศก สามชั้น ทางครูแอบ ยุวนวณิชย์ กรณีศึกษาครูสิทธิชัย ศรกาญจน์. วารสารสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา 6(2). 88-98.

เชาวน์มนัส ประภักดี. (2564). การขับเคลื่อนงานศิลปวัฒนธรรมในบริบทสังคมไทย:  บทสังเคราะห์อุปสรรคและทางออกจากประสบการณ์นักขับเคลื่อนงานศิลปวัฒนธรรม. วารสารสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา 6(1). 57-67.

เชาวน์มนัส ประภักดี. (2563). เหลียวหน้าแลหลัง 3 ทศวรรษของการศึกษาวัฒนธรรมดนตรีในบริบทสังคมไทย. วารสารสุริยวาฑิต วิทยาลัยการดนตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา. มกราคม - ธันวาคม 2563, 73-79.

ชัยณรงค์ ทาริวงษ์ , เชาวน์มนัส ประภักดี. (2563). บทบาทหน้าที่ของดนตรีต่อชุมชน: กรณีศึกษาวงดนตรีหลานตาเฮง. วารสารดนตรีบ้านสมเด็จฯ, 2(2), 1 - 14.

เชาวน์มนัส ประภักดี. (2559). เสียงในความทรงจำกับการสร้างภาพลักษณ์ของพม่าในเพลงดนตรีของหลวงวิจิตรวาทการ.  วารสารสุริยวาฑิต วิทยาลัยการดนตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา. มกราคม - ธันวาคม 2559, 84-93.

เชาวน์มนัส  ประภักดี ถนอมศรี  เปลี่ยนสมัย และสรรพารี  ยกย่อง. (2559). การมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างศักยภาพเด็ก เยาวชน บนฐานความหลากหลายทางวัฒนธรรม. วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 11(ฉบับพิเศษ), 27 – 42.

ถนอมศรี  เปลี่ยนสมัย เชาวน์มนัส  ประภักดี และสรรพารี  ยกย่อง. (2559). การเสริมสร้างความรู้เรื่องความหลากหลายทางวัฒนธรรมในอำเภอพุทธมณฑลสำหรับเด็กและเยาวชน. วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา, 8(2), 50 – 64.

เชาวน์มนัส  ประภักดี. (2558). การวิเคราะห์วาทกรรม “พม่า” ในผลงานดนตรีของหลวงวิจิตรวาทการ. ในเอกสารประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ “ราชภัฏวิจัย ครั้งที่ 3”, 20-22 พฤษภาคม 2558 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช, ประเทศไทย, 40 – 49

เชาวน์มนัส  ประภักดี. (2558). ประวัติศาสตร์ความสัมพันธ์เชิงอำนาจไทย – ลาว และมูลเหตุแห่งวิกฤติทางศิลปวัฒนธรรมในสมัยรัชกาลที่ 4 . วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา, 9(1), 75 – 102.

เชาวน์มนัส  ประภักดี. (2558). ประวัติศาสตร์การศึกษาไทยและการศึกษาดนตรีของไทย: ปัญหาและแนวทางแก้ไข. ทีทัศน์วัฒนธรรม สำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา, 13, 76 – 101.

เชาวน์มนัส  ประภักดี. (2558). ผีในโลกทัศน์คนไทดำและมอญในชุมชนท้องถิ่นภาคกลาง: บทสังเคราะห์โครงการยุววิจัยประวัติศาสตร์ท้องถิ่นพื้นที่ภาคกลาง. ในเอกสารประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 2 , 22 ธันวาคม 2558 มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร. 31.

เชาวน์มนัส  ประภักดี. (2558). อำนาจในดนตรีกับการประกอบสร้างความจริงทางประวัติศาสตร์ระหว่างไทย – พม่า. ในเอกสารประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติ “ภาษาและวัฒนธรรม 2558” เรื่อง “อำนาจไร้พรมแดน : ภาษา วัฒนธรรม และอำนาจของการสื่อสารในชีวิตประจำวัน”, 27 กรกฎาคม 2558 ณ สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล.

เชาวน์มนัส  ประภักดี. (2558). ความเป็นไทยในวิถีอาเซียน: ทัศนะว่าด้วยการปะทะทางวัฒนธรรม ประวัติศาสตร์และเพลงดนตรี. วารสารสุริยวาฑิต คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา, 60 – 71.

เชาวน์มนัส  ประภักดี. (2557). ตัวกู ของกู : รัฐกู เพลงกู. วารสารธารวัฒนธรรม สำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี, 3(2), 81 – 100.

เชาวน์มนัส  ประภักดี. (2557). ผู้คน บทเพลง ชาติพันธุ์และความเป็นไทย. วารสารสุริยวาฑิต, มกราคม – ธันวาคม, 46 – 55.

เชาวน์มนัส  ประภักดี. (2557). ไทย VS พม่า: เพลงดนตรีกับการประกอบสร้างความจริงทางประวัติศาสตร์. Music Journal, 19(11), 12 - 17.

เชาวน์มนัส ประภักดี. (2557). เพลงลาวแพน: ประวัติศาสตร์การเมืองในเพลง. วารสารภาษาและวัฒนธรรม, 33(1), มกราคม-มิถุนายน 2557, 5-30.

เชาวน์มนัส ประภักดี. (2556). ความนัยทางการเมืองเรื่องอุดมการณ์รัฐชาติ ในพระบรมราชโองการ “ห้ามแอ่วลาวเป่าแคน”. ทีทัศน์วัฒนธรรม, ปีที่ 12, 9 - 22.

เชาวน์มนัส ประภักดี. การขับเคลื่อนงานวิจัยแบบชุดโครงการ “ภาษาและวัฒนธรรม :    หลักประกันของสังคมสุขภาวะ”.จดหมายข่าวสถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล. 33(2), 2 - 3.

เชาวน์มนัส  ประภักดี. (2556). “พื้นเวียง”: เสียงแห่งการต่อต้านอำนาจ กับอำนาจแห่งการควบคุมเสียง. Music Journal, 18(11), 14 - 17.

เชาวน์มนัส ประภักดี. (2555). อ่านงาน “จิตร ภูมิศักดิ์” วิจารณ์ดนตรีไทย. Music Journal, 18(4), 56 - 59.

เชาวน์มนัส ประภักดี. (2555). สังคีตภิรมย์ ๑๐ สำเนียง เสียงอาเซียน. Music Journal, 18(3), 60 - 65.

เชาวน์มนัส ประภักดี. (2555). ลาวแพนในแดนลาว. Music Journal, 17(3), 40 - 43.

เชาวน์มนัส ประภักดี. (2555). “ลาวแพน” ในทัศนะนักคิดและศิลปินร่วมสมัย. วารสารเพลงดนตรี, 12(16), 38 - 41.

เชาวน์มนัส ประภักดี. (2554). กลุ่มภารกิจวิจัยชุมชนของมหาวิทยาลัยมหิดล. จดหมายข่าวสถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยลัยมหิดล. 32(2), 2 - 3.

เชาวน์มนัส ประภักดี. (2555). ผู้หญิง ดนตรี และการเมืองเรื่องเพศ. วารสารเพลงดนตรี,   12(17) , 28 - 32.

เชาวน์มนัส ประภักดี. (2554). โครงการยุววิจัยประวัติศาสตร์ท้องถิ่นพื้นที่ภาคกลาง.จดหมายข่าวสถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล. 31(1), 8.

การนำเสนอผลงาน/ประชุมวิชาการ
Chaomanat Prapakdee. Looking Back and Moving Forward: Three Decades of Music Culture Study in the Thai Social Context. Princess Galyani Vadhana Institute of Music, International Symposium 2021 TRADITIONS in TRANSITION. 23rd – 27th August 2021.

เชาวน์มนัส ประภักดี. (2562). การขับเคลื่อนงานด้านศิลปะและวัฒนธรรมในบริบทสังคมไทยร่วมสมัย : บทสังเคราะห์ปัญหาและทางออกจากประสบการณ์นักขับเคลื่อนงานด้านศิลปะและวัฒนธรรม. ในการประชุมวิชาการงานสร้างสรรค์ด้านศิลปกรรม
ระดับชาติครั้งที่ 1 “ทิศทางของศิลปกรรมในศตวรรษที่ 21 : ตัวตน ชุมชน สังคม โลก” (Trends in the Arts in the 21st Century: Individual, Community, Society and the World). วันที่ 6 สิงหาคม 2562. คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต, ประเทศไทย.

เชาวน์มนัส  ประภักดี. (2559). การมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างศักยภาพเด็ก เยาวชน บนฐานความหลากหลายทางวัฒนธรรม. ในการประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ “ราชภัฏวิจัย ครั้งที่ 4”, 22 - 23 พฤศจิกายน 2559 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์, ประเทศไทย.

เชาวน์มนัส  ประภักดี ถนอมศรี  เปลี่ยนสมัย และสรรพารี  ยกย่อง. (2559) ความหลากหลายทางวัฒนธรรม ภายใต้วาทกรรมของความไม่หลากหลายทางวัฒนธรรม. ในการประชุมวิชาการระดับชาติ ภาษาและวัฒนธรรม 2559, 26 กรกฎาคม 2559 ณ สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล. ประเทศไทย.

เชาวน์มนัส  ประภักดี. (2559). การเสริมสร้างความรู้เรื่องความหลากหลายทางวัฒนธรรมในอำเภอพุทธมณฑลสำหรับเด็กและเยาวชน. ในการประชุมวิชาการระดับชาติ, 26 สิงหาคม 2559 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา, ประเทศไทย.

เชาวน์มนัส  ประภักดี. (2558). การวิเคราะห์วาทกรรม “พม่า” ในผลงานดนตรีของหลวงวิจิตรวาทการ. ในการประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ “ราชภัฏวิจัย ครั้งที่ 3”, 20-22 พฤษภาคม 2558 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช, ประเทศไทย.

เชาวน์มนัส  ประภักดี. (2558). ผีในโลกทัศน์คนไทดำและมอญในชุมชนท้องถิ่นภาคกลาง: บทสังเคราะห์โครงการยุววิจัยประวัติศาสตร์ท้องถิ่นพื้นที่ภาคกลาง. ในการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 2 , 22 ธันวาคม 2558 มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร, ประเทศไทย.

เชาวน์มนัส  ประภักดี. (2558). อำนาจในดนตรีกับการประกอบสร้างความจริงทางประวัติศาสตร์ระหว่างไทย-พม่า. ในการประชุมวิชาการระดับชาติ ภาษาและวัฒนธรรม 2558 ณ สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล, ประเทศไทย.

เชาวน์มนัส  ประภักดี. (2556). “รัฐไทย” กับประวัติศาสตร์การจัดการความต่างทางวัฒนธรรม : กรณีศึกษา “วงศาวิทยาของเพลงลาวแพน”. ในการประชุมระดับชาติ “ภาษาและวัฒนธรรม 2556”. วันที่ 29 กรกฏาคม 2556 สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล, ประเทศไทย.

รางวัลที่ได้รับ

- บุคลากรดีเด่น ประจำปี 2559 มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา

- รางวัลการนำเสนอผลงานวิจัยดีเด่นภาคบรรยาย กลุ่มการศึกษาและวัฒนธรรม การประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติและนานาชาติ “ราชภัฏวิจัย ครั้งที่ 3” 20-22 พฤษภาคม 2558 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช, ประเทศไทย.

-  รางวัลรองชนะเลิศการประกวดวงดนตรีไทยระดับชาติ ปี 2546 งานราชภัฏสังคีต

-  รางวัลชนะเลิศการประกวดวงดนตรีไทยระดับชาติ ปี 2545 งานราชภัฏสังคีต

-  รางวัลรองชนะเลิศการประกวดเดี่ยวจะเข้ ปี 2545 งานราชภัฏสังคีต

ผลงานอื่นๆ

2561 - ปัจจุบัน
- รองคณบดีวิทยาลัยการดนตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา

2558 - 2560
- หัวหน้าภาควิชาดนตรีไทย วิทยาลัยการดนตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
- ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายวิจัย วิทยาลัยการดนตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
- ประธานหลักสูตรดุริยางคศาสตรบัณฑิต (ดนตรีไทย) วิทยาลัยการดนตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา

2559 - ปัจจุบัน
- คณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา

2550 - 2558
- วิทยากรชมรมดนตรีไทยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

2555 - 2556
ผู้ช่วยวิจัย
1) โครงการความมั่นคงทางอาหารของประชากรเขตเมือง
2) โครงการการฟื้นฟูของกินพื้นบ้านเพื่อสร้างเสริมความมั่นคงทางอาหารและสืบสานวัฒนธรรมในกลุ่มชาติพันธุ์
3) โครงการการสร้างเสริมสุขภาวะแรงงานข้ามชาติด้วย “สมรรถนะทางวัฒนธรรม
4) โครงการอบรมภาษาและวัฒนธรรมอาเซียน “พลังภาษา พลังอาเซียน”. ภายใต้ชุดโครงการภาษาและวัฒนธรรม : หลักประกันของสังคมสุขภาวะ สนับสนุนโดยสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)

2554 - 2555
- ผู้ช่วยวิจัยโครงการวิจัย “การวิจารณ์ศิลปะ: รอยต่อระหว่างวัฒนธรรมลายลักษณ์กับวัฒนธรรมเสมือนจริง”. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)

2553 - 2555
- เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป โครงการกลุ่มภารกิจวิจัยชุมชนของมหาวิทยาลัยมหิดล.สังกัดกองแผนงาน สำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยมหิดล.

2552 - 2553
ผู้ช่วยวิจัย
1) โครงการยุววิจัยประวัติศาสตร์ท้องถิ่นพื้นที่ภาคกลาง. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.).
2) โครงการพัฒนากลไกการขับเคลื่อนงานด้านคุณธรรม จริยธรรม: ศึกษารูปแบบ เนื้อหาและแนวทางความเป็นไปได้ในการจัดตั้งศูนย์การเรียนรู้จริยธรรมแนวใหม่. สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (ก.พ.)
3) โครงการวิจัยจ้างที่ปรึกษาวางแผนการบริหารจัดการและให้บริการการเรียนรู้พิพิธภัณฑ์เด็ก กรุงเทพมหานครแห่งที่ 2 ให้เป็นศูนย์การเรียนรู้สำหรับครอบครัว. สำนักวัฒนธรรม กีฬาและการท่องเที่ยว กรุงเทพมหานคร.

2552 - 2553
- ฝ่ายข้อมูลกลุ่มศิริราชา ที่จัดตั้งขึ้นเพื่อส่งเสริมและป้องกันให้เยาวชนห่างไกลจากการดื่มสุรา  และยาเสพติด. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.).

2551
- คณะทำงานของศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร ในงานเทศกาลพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น ประจำปี พ.ศ.2551.

2545 - 2547
- ฝ่ายข้อมูลทำหน้าที่เก็บรวบรวม วิเคราะห์และตรวจสอบข้อมูลด้านศิลปวัฒนธรรมรายการสยามเกมส์ ออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3.