Single View Blog 1
ดร.วิสิทธิ์ โพธิวัฒน์

ผลงาน

ความเชี่ยวชาญ

  • Branding Design
  • Typography Design
  • Typeface Design
  • Graphic Design

ผลงานวิจัย / ผลงานวิชาการ

งานวิจัย

สมจินตนา จริยุกุล และวิสิทธิ์ โพธิวัฒน์. (2558). การพัฒนากระบวนการเรียนรู้การบริหารจัดการ
ที่ดีและการออกแบบผลิตภัณฑ์ของวิสาหกิจชุมชนเขตธนบุรีโดยชุมชนมีส่วนร่วมเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจชุมชนอย่างยั่งยืนตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง. กรุงเทพฯ: คณะกรรมการการวิจัยแห่งชาติ.

บทความทางวิชาการ

วิสิทธิ์ โพธิวัฒน์. (2555). การออกแบบตัวพิมพ์จากเอกลักษณ์ตัวเขียนลายมือของพระธรรม
โกศาจารย์พุทธทาสภิกขุ. วารสารวิชาการคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 6 (6), 121-138.

วิสิทธิ์ โพธิวัฒน์. (2559). การสร้างตราสินค้าที่ทำด้วยมือสำหรับผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น กรณีศึกษา การออกแบบอัตลักษณ์ผลิตภัณฑ์จากผู้ประกอบการรายย่อยชุมชนขุนพัดเพ็ง. เผยแพร่ผลงานในงานประชุมวิชาการระดับชาติวิจัยรำไพพรรณี ครั้งที่ 10 มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี เมื่อ 19 ธ.ค.2559.

วิสิทธิ์ โพธิวัฒน์. (2560). การออกแบบตัวพิมพ์สำหรับโครงการ 150 ปี ศรีสุริยวงศ์ ผู้สำเร็จราชการแผ่นดิน typeface design for 150th years SriSurywongse Regent of Siam project. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ครั้งที่ 9. 7 - 9 สิงหาคม 60.

วิสิทธิ์ โพธิวัฒน์. (2560). การออกแบบตัวพิมพ์จากเอกลักษณ์ลายมือของทวี วิษณุกร Typeface design from the Identity of the Tewee Wisnukorn Handwriting. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี ครั้งที่ 5. 31 สิงหาคม 60.

วิสิทธิ์ โพธิวัฒน์. (2561). การออกแบบอัตลักษณ์ผลิตภัณฑ์ปลานิลแปรรูปของชุมชนบ้านเดื่อ จังหวัดหนองคาย Identity Design for processed Nile Tilapia products of Ban Duea, Nong Khai Province. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง ครั้งที่ 61. มีนาคม 61.

วิสิทธิ์ โพธิวัฒน์. (2563). การออกแบบตัวพิมพ์ลาภ : ตัวพิมพ์ประเภทหัวเรื่องบุคลิกไทยร่วมสมัย. สูจิบัตรบทความสร้างสรรค์ International Arts and Design Collaborative Exhibition 2020. คณะศิลปกรรมศาสตร์ ม.สงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี. 29 พ.ค.-5 มิ.ย. 2563, 497 - 506.

รางวัลที่ได้รับ

  • รางวัลชนะเลิศ รางวัลนริศรานุวัตติวงศ์ ในด้านอักษรประดิษฐ์ เนื่องในวันนริศ ประจำปี 2560

ผลงานอื่นๆ

งานสร้างสรรค์

วิสิทธิ์ โพธิวัฒน์. (2555). การออกแบบตัวพิมพ์จากเอกลักษณ์ตัวเขียนลายมือของพระธรรม
โกศาจารย์พุทธทาสภิกขุ. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา.

วิสิทธิ์ โพธิวัฒน์. (2560). การออกแบบตัวอักษร ชื่อผลงาน วังบูรพา. ได้รับรางวัลชนะเลิศ รางวัลนริศรานุวัตติวงศ์ ในด้านอักษรประดิษฐ์ เนื่องในวันนริศ ประจำปี 2560.

วิสิทธิ์ โพธิวัฒน์. (2560). การออกแบบปฏิทินในหลวง ประจำปี 2560. จัดแสดงโดย สำนักส่งเสริมนวัตกรรมและสร้างมูลค่าเพิ่มเพื่อการค้า กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ ในชื่อ นิทรรศการดีมาร์ค โชว์ 2017 (DEmark Show 2017). เมื่อ 26 - 31 พฤษภาคม 2560 ณ ศูนย์การค้าสยามพารากอน.

วิสิทธิ์ โพธิวัฒน์. (2561). งานออกแบบภาพคลิปอาร์ตจากวัฒนธรรมท้องถิ่นในประเทศไทย.  ใน นิทรรศการร้อยแรงบันดาลไทย. กระทรวงวัฒนธรรม. 17สิงหาคม 2561 ถึง 13 กันยายน 2561, หอศิลป์ร่วมสมัยราชดำเนิน กรุงเทพฯ ประเทศไทย, 16-179.

วิสิทธิ์ โพธิวัฒน์. (2561). งานออกแบบผลิตภัณฑ์จากวัฒนธรรมท้องถิ่นในประเทศไทย. ใน นิทรรศการร้อยแรงบันดาลไทย. กระทรวงวัฒนธรรม. 17 สิงหาคม 2561 ถึง 13 กันยายน 2561, หอศิลป์ร่วมสมัยราชดำเนิน กรุงเทพฯ ประเทศไทย, 240-253.

วิสิทธิ์ โพธิวัฒน์. (2562). การออกแบบ Craft Co-Creation 2019. ใน โครงการส่วนร่วมรังสรรค์ศิลปหัตถกรรม 2562. ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (องค์กรมหาชน) เมษายน 2562 ถึง มิถุนายน 2562.

วิสิทธิ์ โพธิวัฒน์. (2562). “การออกแบบตัวพิมพ์สรรเสริญ”. ใน นิทรรศการ Design Excellence Award 2019. วันที่ 2 กันยายน 2562. ณ โรงแรม Hilton กรุงเทพฯ ประเทศไทย.

วิสิทธิ์ โพธิวัฒน์. (2563, ตุลาคม). อัตลักษณ์ชุมชนพุน้ำร้อน จ.สุพรรณบุรี [สลากสรรสร้างเพื่อชุมชน]. กรุงเทพฯ: อมรินทร์ทีวี (ช่อง 34).

วิสิทธิ์ โพธิวัฒน์. (2563). “การออกแบบอัตลักษณ์ชุมชนบ้านเมืองรวง”. ใน นิทรรศการร้อยแรงบันดาลไทย ครั้งที่ 2. วันที่ 10 – 20 มกราคม 2563. ณ หอศิลป์ร่วมสมัยราชดำเนิน กรุงเทพฯ ประเทศไทย.

วิสิทธิ์ โพธิวัฒน์. (2563). งานออกแบบตัวพิมพ์ลาภ. ใน  The 2nd International Art & Design Collaborative Exhibition 2020. 29 พฤษภาคม – 5 มิถุนายน 2563, หอศิลปวัฒนธรรมภาคใต้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี ประเทศไทย.

วิสิทธิ์ โพธิวัฒน์. (2563). งานออกแบบตัวพิมพ์สุข : รูปแบบริบบิ้นประยุกต์.  ใน นิทรรศการผลงานศิลปกรรมคณาจารย์ภายใต้ความร่วมมือทางวิชาการ (MOU) ในเครือมหาวิทยาลัยราชภัฏ 20 แห่ง ทั่วประเทศ. 25-30 สิงหาคม 2563, มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา.