Single View Blog 1
ผศ.ดร.ธรรณปพร หงษ์ทอง

ผลงาน

ความเชี่ยวชาญ

  • การวิจัยทางภาษาไทย
  • ภาษาศาสตร์
  • วรรณกรรมเชิงสร้างสรรค์

ผลงานวิจัย / ผลงานวิชาการ

หนังสือ

  1. ธรรณปพร หงษ์ทอง. (2562). อิทัปปัจจยตากถา ภาษากลอน. กรุงเทพมหานคร: จรัลสนิทวงศ์การพิมพ์จำกัด.
  2. Thannapaporn Hongthong. (2561).Thai for Foreigners. Bangkok: BSRU PRINTING.
  3. ธรรณปพร  หงษ์ทอง. (2558). ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา. (บทที่ 7 หน้า 149-156).

 

เอกสารประกอบการสอน

  1. ธรรณปพร  หงษ์ทอง. (2560). การเขียนเชิงวิชาการ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา.

 

บทความวิจัย

  1. ธรรณปพร หงษ์ทอง. (2562). กลวิธีการตั้งชื่อเรื่องภาพยนตร์เป็นภาษาไทยจากภาพยนตร์อเมริกัน. วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์, 7(6), 1729-1740. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
  2. Thannapaporn Hongthong , Sumeth Boonmaya, Phramaha Adidej Sativaro , (2019). Phramaha Boonsook Suddhiyano  and  Napapat Ngambussabongsophin. Motivation and Practical Guidance of Volunteerismin the Royal Cremation Ceremony of His Majesty King Bhumibol Adulyadej, Rama IX. Journal of International Buddhist Studies. Vol 10,No 1,1-16. Mahachulalongkornrajavidyalaya University.Thailand.
  3. พระปลัดสมชาย  ปโยโค และคณะ. (2562). การสังเคราะห์ตัวชี้วัดการเสริมสร้างพฤฒพลังวิถีพุทธของผู้สูงอายุ กลุ่มผู้เกษียณราชการ. วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์. 6(7), 3613-3625. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช.
  4. ธรรณปพร หงษ์ทอง. (2561). แรงจูงใจของจิตอาสาเฉพาะกิจในงานพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชบรมนาถบพิตร รัชกาลที่ ๙. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ (Proceeding), 2(1), 203-212. มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์.
  5. พระปลัดปรีชา นนฺทโก และ ธรรณปพร หงษ์ทอง. (2561). การศึกษาแนวทางการพัฒนาศักยภาพพระสอนศีลธรรมโรงเรียนมัธยมศึกษาในจังหวัดระยอง. วารสารบัณฑิตศึกษาปริทรรศน์, 14,(ฉบับพิเศษ), 1-12. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
  6. ธรรณปพร หงษ์ทอง, พระมหาอดิเดช สติวโร และ สุเมธ บุญมะยา. (2561). แรงจูงใจและการปฏิบัติงานของจิตอาสาเฉพาะกิจในงานพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชบรมนาถบพิตร รัชกาลที่ ๙. วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์, 6(ฉบับพิเศษ), 490-501. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
  7. พระมหาอดิเดช สติวโร, ธรรณปพร หงษ์ทอง และคณะ. (2561). พฤติกรรมกลุ่มเชิงพุทธของแรงงานต่างด้าวชาวพม่ากับการพัฒนาคุณภาพชีวิต. วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์, 6(3), 1242-1258. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
  8. Phramaha Adidej Sativaro , Phramaha Boonsook Suddhiyano  ,Thannapaporn Hongthong ,Sumeth Boonmaya  and Napapat Ngambussabongsophin.(2019). The Motivation and Practical Guidance for People towards the Royal Cremation Ceremony of the Late King Bhumibol Adulyadej (Rama IX).The 9 th International Conference on Art and Culture Network. Proceeding 11-13 February 2019, 9,115-125. Nakhonpathom, Thailand.
  9. ธรรณปพร หงษ์ทอง. (2560). รู้ให้ซึ้งถึงคำสแลง. วารสารไทยทรรศน์. 1(1) ,98-107. มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา.
  10. ธรรณปพร  หงษ์ทอง. (2557). อิทัปปัจจยตา: กลวิธีการตั้งชื่อเรื่องของพุทธทาสภิกขุ. วารสารบัณฑิตศึกษาปริทรรศน์, 10(3) , 51-69. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
  11. ธรรณปพร หงษ์ทอง. (2556). กลวิธีการใช้ภาษาในการเผยแผ่พุทธธรรมของพุทธทาสภิกขุ. วารสารบัณฑิตศึกษาปริทรรศน์, 9(3), (ฉบับพิเศษ) , 443-457. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

 

บทความวิชาการ

  1. Thannapaporn Hongthong and Sumeth Boonmaya. .(2020). Learning of Thai Youths in New Generation as Citizens in Digital Age. Solid State Technology. Vol. 63 No. 2s, 1904-1908. (ISSN: 0038-111X) , SCOPUS Q3.
  2. Phramaha Adidej Sativaro and Thannapaporn Hongthong .(2020). New Model of Normal Life Depending upon Bhavana 4. Solid State Technology. Vol. 63 No. 2s, 1985-1991. (ISSN: 0038-111X) , SCOPUS Q3.
  3. ธรรณปพร  หงษ์ทอง,ปาณิสรา เบี้ยมุกดา และวิชุดา พรายยงค์. (2564). วิเคราะห์คำศัพท์สร้างใหม่ และการใช้สัญลักษณ์เพื่อการสื่อสารของกลุ่มเยาวชนที่ชุมนุมเพื่อเรียกร้องประชาธิปไตยในปี พ.ศ. 2563. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ,Proceeding, 3(1),416-425.มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
  4. ธรรณปพร  หงษ์ทอง. (2563). นิพพานปรมัตถ์กับการพิจารณาปฏิจจสมุปบาทสายสมุทยวารและนิโรธวาร.พัฒนาการเรียนรู้เชิงสร้างสรรค์สู่สังคม.รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ,Proceeding, 2(1), 463-472. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
  5. แม่ชีสุดา โรจนอุทัย และธรรณปพร  หงษ์ทอง. (2563). การศึกษาความสอดคล้องเชาวน์อารมณ์ตามแนวคิดของแดเนี่ยลโกลแมนกับพระพุทธศาสนาเถรวาท. วารสาร มจร พุทธศาสตร์ปริทรรศน์. 4(2), 49-67. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
  6. ธรรณปพร  หงษ์ทอง. (2561). พุทธทาสภิกขุ: ผู้นำการกระตุ้นทางปัญญาเพื่อพัฒนาการเรียนรู้เชิงสร้างสรรค์สู่สังคม. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ,Proceeding, 1(1),463-472. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
  7. ธรรณปพร  หงษ์ทอง. (2560). อจินไตยในมุมมองพุทธทาสภิกขุ. วารสารมจร พุทธศาสตร์ปริทรรศน์. 1(2), 156-165. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
  8. ธรรณปพร  หงษ์ทอง. (2559). พุทธวิธีแก้วิกฤตทางการศึกษา: พลิกฟื้นการศึกษาไทย. วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์, 3(2),52-63. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
  9. ธรรณปพร  หงษ์ทอง. (2556). ขบวนการสรรโวทัยในศรีลังกา. วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์, 1(2),  106-118. (บทความปกิณกะ), มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

รางวัลที่ได้รับ

  1. รางวัล “คนดีเด่นแห่งปี” รางวัลเพชรสุบรรณ ประจำปีพุทธศักราช 2562 สาขา บุคคลผู้ส่งเสริมและพัฒนาการศึกษาดีเด่น มอบโดยมูลนิธิสร้างสรรค์สังคมไทย เมื่อวันที่ 28 เมษายน พ.ศ. 2562
  2. รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน “Best Practice” ประจำปีพุทธศักราช 2561 มอบโดยคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา

ผลงานอื่นๆ