Single View Blog 1
ผศ.ดร.สุนทรียา กาละวงศ์

ผลงาน

ความเชี่ยวชาญ

1. Plant cell, tissue, and organ culture

2. Plant biotechnology

3. Plant science

4. Practical pomology

5. Plant Pest control

6. Agriculture Technology

ผลงานวิจัย / ผลงานวิชาการ

Kalawong, S. and Te-chato, S. 2012. Factors affecting gene transformation in embryogenic callus of oil palm by

bombardment technique. Journal of Agricultural Technology  8: 2373-2384.

Kalawong, S., Srichuay  W.,  Sirisom Y. and Te-chato S. 2014. The Establishment of Agrobacterium-Mediated

Gene Transformation in Rubber Tree through Organized Explants. Journal of Agricultural Technology 10: 493-

503.

Kalawong,  S., Srichuay  W. and Te-chato S. 2014. The effect of Agrobacterium densities and inoculation time on

gene transformation efficiency in rubber tree. African Journal of Biotechnology 13: 2321-2329.

Srichuay, W., Kalawong, S., Sirisom, Y. and Te-chato, S. 2014. Callus induction and somatic embryogenesis from

anther cultures of Hevea brasiliensis Muell Arg. Kasetsart Journal (Natural  Science) 48: 364-375.

Srichuay, W., Kalawong, S. and Te-chato, S. 2014. Effect of seasonal collection on callus induction, proliferation                and somatic embryogenesis from anther cultures of Hevea brasiliensis Muell Arg. African Journal of

Biotechnology 13: 3560-3566. (National journal)

สุนทรียา  กาละวงศ์  และสมปอง เตชะโต. 2557. การปรับปรุงการเพาะเลี้ยงยางพาราในหลอดทดลองเพื่อเตรียมถ่ายยีน. วารสาร

พืชศาสตร์สงขลานครินทร์ 3: 13-19. (TCI 1)

สุนทรียา  กาละวงศ์  และสมปอง เตชะโต. 2558. การชักนำการสร้างต้นยางพาราในหลอดทดลองโดยใช้เทคนิคไมโครคัดติ้ง.

วารสารพืชศาสตร์สงขลานครินทร์ 2: 21-26. (TCI 1)

Kalawong, S., Luangsuwalai, K., Rungrueng, P. and Te-chato S. 2016. Induction of Callus and Cell Suspension

from Integument Culture of Rubber Tree. Songklanakarin Journal of Plant Science 3(3): 9-14. (TCI 1)

เพ็ญแข  รุ่งเรือง  กาญจนา  เหลืองสุวาลัย  สุนทรียา  กาละวงศ์  และปณต ขวัญรัตน์. 2560. การชักนำการเกิดยอดและรากของ

มะเดื่อฝรั่งสายพันธุ์แบล็คแจ็ค (Ficus carica L.   “Black Jack”) ในสภาพปลอดเชื้อ. วารสารก้าวทันโลกวิทยาศาสตร์

17(2): 42-53. (TCI2)

Kalawong, S., Ruengchuenmuen, N., Luangsuwalai, K., Rungrueng, P. and Siangsuepchart, A. (2018).

Improvement on Propagation Efficiency of Non Tai Yak (Stemona collisae Craib.). Songklanakarin Journal

of  Plant Science 5(4): 23-31. (TCI 1)

เพ็ญแข รุ่งเรือง, อนุกาญจน์ ชิณวงศ์, กาญจนา เหลืองสุวาลัย, กริยา สังข์ทองวิเศษ และสุนทรียา    กาละวงศ์. (2561). การขยาย

พันธุ์และการใช้แพกโคลบิวทราซอลเพื่อการผลิตม่วงไตรบุญ เป็นไม้กระถาง. วารสารแก่นเกษตร 46 (4) : 699-708.

สุนทรียา กาละวงศ์  ศิริลักษณ์ บัวทอง กาญจนา เหลืองสุวาลัย  เพ็ญแข รุ่งเรือง  วุฒิชัย ศรีช่วย และ อภิรดี เสียงสืบชาติ. 2562.

ปัจจัยที่มีผลต่อการชักนำรากในหลอดทดลอง และการออกปลูกของต้นกล็อกซิเนีย (Sinningia speciosa).

วารสารพืชศาสตร์สงขลานครินทร์ 6(1): 19-29. (TCI 1)

Siangsuepchart, A.,  Boonyapisit, D., Dell, B., Kalawong, S., Lumyong, S. and Jumpathong, J. (2019). Crude

Xylanase Production in Bacteria using Corn Husk as Substrate in Submerged Fermentation. NU. Int. J. Sci.

16(1): 46-56. (TCI 1)
เพ็ญแข รุ่งเรือง จันทนี ภู่เจริญ สุนทรียา กาละวงศ์ กิริยา สังข์ทองวิเศษ และเพชรัตน์ จันทรทิณ. 2562. การใช้สารละลายธาตุ

อาหารสำหรับปลูกพืชโดยไม่ใช้ดินทดแทนอาหารสูตร MS ในการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อกาบหอยแครง (Dionaea

muscipula).วารสารแก่นเกษตร 47(5): 929-938. (TCI 1)

สุนทรียา  กาละวงศ์  ภาณุวัฒน์ ยิ้มย่อ  สุพัตร ฤทธิรัตน์  สกุลรัตน์ สุวรรณโณ และอภิรดี เสียงสืบชาติ. 2563. ผลของสูตรอาหาร

น้ำตาลซูโครส และไคโตซานต่อการเพิ่มปริมาณต้นเอื้องมัจฉาในหลอดทดลอง วารสารแก่นเกษตร 48(2) (มี.ค.-เม.ย.):

395-404. (TCI 1)

อภิรดี เสียงสืบชาติ  วารุต เขมวงค์  อัครชัย พลหาญ  และสุนทรียา กาละวงศ์. 2563.  การประยุกต์ใช้การออกแบบการทดลอง

แบบส่วนประสมกลาง (Central Composite Design) ในการหาส่วนผสมที่เหมาะสมสำหรับการเลี้ยงเห็ดนางรมฮังการีจาก

ผักตบชวา. วารสารพืชศาสตร์สงขลานครินทร์ 7(1) (ม.ค-มี.ค.): 104-112. (TCI 2)

นวพร หงส์พันธุ์ กัญญารัตน์ไชยณรงค์ และสุนทรียา กาละวงศ์. (2021). การศึกษาระดับการทดแทนแป้งสาลีบางส่วนด้วยพิวรี

มันเทศสีม่วงต่อคุณภาพของผลิตภัณฑ์บราวนี. วารสารวิทยาศาสตร์บูรพา 26(3): 1745-1761. (TCI 1)

 

Proceeding:

สุนทรียา  กาละวงศ์  และสมปอง เตชะโต. 2553. ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพการถ่ายยีนเข้าสู่เอ็มบริโอเจนิคแคลลัสของปาล์ม

น้ำมัน  โดยใช้เครื่องยิงอนุภาค. วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร 41 (พิเศษ): 309-312.

สุนทรียา  กาละวงศ์  และสมปอง เตชะโต. 2557. การศึกษาการเพิ่มปริมาณเซลล์แขวนลอยที่ชักนำจากอับละอองเกสรของ

ยางพารา. วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร 45 (พิเศษ): 581-585.

กาญจนา  เหลืองสุวาลัย  พงศธร ลี้สธนกุล  สุนทรียา  กาละวงศ์  และเพ็ญแข  รุ่งเรือง. 2559. การศีกษาการเจริญและพัฒนาของ

ผลแก้วมังกร Hylocereus undatus (Haw.) Britt & Rose. วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร 47(2)(พิเศษ): 57-60.

Rittirat, S., Thammasiri, K., Kalawong, S. and Klaocheed, S. 2018. Ex-situ Conservation of Endangered Medicinal

Orchid Species, Dendrobium crumenatum Sw. by Micropropagation. International Conference Proceedings

“ASIAN Community Knowledge Networks for the Economy, Society, Culture, and Environmental Stability”.

2: 46-52.

Rittirat, S., Klaocheed, S., Suppapan J., Chaithada, P., Kalawong, S.and Thammasiri,  K.  2019.  Cryopreservation

of an endangered pharmaceutically important orchid, Cymbidium finlaysonianum Lindl. using vitrification

technique. International Conference Proceedings  “The Third International Symposium on Plant

Cryopreservation”. 125-131.

 

International conference:

Kalawong, S. 2010. Factors affecting gene transformation in embryogenic callus of  oil palm by bombardment

technique. The 4th AG-BIO/PERDO Graduate Conference and University of Tsukuba-Kasetsart University

Joint Semenar, Kasetsart University, Kamphaeng Saen Campus, Nakhon Pathom, Thailand, 9-

10th December 2010. (Oral Presentation)

Kalawong, S. 2014. Improvement Tissue Culture Technique of Rubber Tree for Gene Transformation. 1st USM-

PSU Hevea Tissue Culture workshop, School of Biological Sciences, USM, Malasia,  20th  January 2014. (Oral

presentation)

Kalawong, S. 2014. Microcutting as a Tool for Propagation and Genetic Transformation in Rubber Tree. 2014

International Conference on Rubber, Thaksin University, Phatthalung campus, Thailand, 28-30th August

2014. (Poster)

Kalawong, S. and Te-chato, S. 2015. Induction of callus and cell suspension derided from integument in Rubber

Tree. The 2nd PSU-USM Hevea Tissue Culture Workshop, Prince of Sonkla University, Hat Hai campus,

Thailand, 19-20th  January 2015. (Oral presentation)

Rittirat S., Thammasiri, K, Prasertsongskun, S, Kalawong, S. and Klaocheed, S. 2017. Ex situ Conservation of the

Endangered Medicinal species Dendrobium crumenatum Sw. (Orchidaceae) by Micropropagation and

Encapsulation. The 13th International Conference “Inter-University Cooperation Program”

“ASIANCommunity  Knowledge Networks for the Economy, Society, Culture, and Environmental Stability”  8-

12 July 2017 University of Miyazaki, Japan. (Oral Presentation)

Rittirat, S., Klaocheed, S., Prasertsongskun, S., Suppapan, J., Chaithada, P., Kalawong, S. and Thammasiri, K.

2018. Cryopreservation of an endangered pharmaceutically important orchid, Cymbidium finlaysonianum

Lindl. using vitrification technique. The Third International Symposium on Plant Cryopreservation

(CryoSymp 2018) 26-28 March 2018 Asia Hotel Bangkok, Thailand. (Poster)

 

National conference:

สุนทรียา  กาละวงศ์  และสมปอง เตชะโต. 2553. ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพการถ่ายยีนเข้าสู่เอ็มบริโอเจนิคแคลลัสของปาล์ม

น้ำมันโดยใช้เครื่องยิงอนุภาค. การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 9 ณ โรงแรมกรุงศรีริเวอร์ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

11-14 พฤษภาคม 2553. (โปสเตอร์)

สุนทรียา  กาละวงศ์  และสมปอง เตชะโต. 2554. ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพการถ่ายยีนเข้าสู่เอ็มบริโอเจนิคแคลลัสของปาล์ม

น้ำมันโดยใช้เครื่องยิงอนุภาค. การประชุมทางวิชาการ “Innovation day ครั้งที่ 1” ณ คณะทรัพยากรธรรมชาติ  มหาวิทยาลัย

สงขลานครินทร์ 10 ตุลาคม 2554. (โปสเตอร์)

สุนทรียา  กาละวงศ์  และสมปอง เตชะโต. 2554. ปัจจัยทางเคมีที่มีผลต่อประสิทธิภาพการถ่ายยีนเข้าสู่เอ็มบริโอเจนิคแคลลัส

ของปาล์มน้ำมันโดยใช้เครื่องยิงอนุภาค. การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 10 ณ โรงแรม มิราเคิล แกรนด์

คอนเวนชั่น กรุงเทพ ฯ 18-20 พฤษภาคม 2554. (โปสเตอร์)

Kalawong, S. and Te-chato, S. 2012. Agrobacterium-mediated Gene Transformation in Rubber Tree. Innovations

in Agriculture and Natural Resource Faculty of Natural Resources, Prince of Songkla University, 13rd

November 2012.   (บรรยาย)

สุนทรียา  กาละวงศ์  และสมปอง เตชะโต. 2556. การศึกษาการเพิ่มปริมาณเซลล์แขวนลอยที่ชักนำจากอับละอองเกสรของ

ยางพารา. การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 12 ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา กรุงเทพ ฯ 9-12

พฤษภาคม 2556. (โปสเตอร์)

สุนทรียา  กาละวงศ์  และสมปอง เตชะโต. 2556. การปรับปรุงการเพาะเลี้ยงยางพาราในหลอดทดลอง เพื่อเตรียมถ่ายยีน. การ

ประชุมทางวิชาการพืชศาสตร์ ครั้งที่ 1 ‘พืชศาสตร์สู่ประชาคมอาเซียน’ ณ ห้องประชุม คณะทรัพยากรธรรมชาติ  มหาวิทยาลัย

สงขลานครินทร์ 13-14 สิงหาคม 2556. (โปสเตอร์)

สุนทรียา  กาละวงศ์  และสมปอง เตชะโต. 2557. การชักนำการสร้างต้นยางพาราในหลอดทดลองโดยใช้เทคนิคไมโครคัดติ้ง.

การประชุมทางวิชาการพืชศาสตร์ ครั้งที่ 2 ‘วิจัยทางพืชศาสตร์สร้างคุณค่า นำพาเกษตรยั่งยืน’ ณ ห้องประชุม LRC1 และ

LRC2 ชั้น 8 ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาการเรียนรู้ อาคารศูนย์ทรัพยาการเรียนรู้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขต

หาดใหญ่ 13-14 สิงหาคม 2557. (โปสเตอร์)

สุนทรียา  กาละวงศ์  และสมปอง เตชะโต. 2558. Induction of callus and cell suspension derided from integument in

Rubber Tree. การประชุมทางวิชาการพืชศาสตร์ ครั้งที่ 3 ‘วิจัยทางพืชศาสตร์ สร้างคุณค่า นำพาเกษตรยั่งยืน’ ณ ห้อง

ประชุมคณะทรัพยากรธรรมชาติ  มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 13-14 สิงหาคม 2558. (โปสเตอร์)

สุนทรียา  กาละวงศ์  กาญจนา เหลืองสุวาลัย  เพ็ญแข รุ่งเรือง  วุฒิชัย ศรีช่วย และศิริลักษณ์ บัวทอง. 2559. การศึกษาปัจจัยที่มี

ผลต่อการชักนำรากในหลอดทดลองและการออกปลูกของต้นกล๊อกซิเนีย (Sinningia speciosa). การประชุมทางวิชาการ

พืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 15 ‘พืชสวนไทย ปลอดภัย มั่งคง และยั่งยืน’ ณ โรงแรม ลี การ์เดนส์ พลาซ่า อำเภอหาดใหญ่ จังหวัด

สงขลา 9-12 พฤศจิกายน 2559. (บรรยาย)

สุนทรียา  กาละวงศ์    เพ็ญแข รุ่งเรือง  และกาญจนา เหลืองสุวาลัย. 2559. การขยายพันธุ์ในหลอดทดลองของต้นม่วงไตรบุญ

(Tribounia venosa) พรรณไม้ประจาถิ่นในอู่ทอง. การประชุมใหญ่โครงการส่งเสริมการวิจัยในอุดมศึกษา ครั้งที่ 5  โดย

ความร่วมมือของมหาวิทยาลัย 70 แห่ง “รากฐานภูมิปัญญาไทย นวัฒกรรมวิจัยสู่สากล” ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี

จังหวัดอุดรธานี 2-4 มีนาคม 2560. (บรรยายและโปสเตอร์)

สุนทรียา  กาละวงศ์    อาทิตย์  พลดอน และอภิรดี  แสงสืบชาติ. 2561. การขยายพันธุ์ดองดึง (Gloriosa  superba L.) ผ่าน

กระบวนการเอ็มบริโอเจนีชีส.  การประชุมวิชาการพืชศาสตร์ ครั้งที่ 5 “วิจัยพืชศาสตร์ก้าวหน้า พัฒนานวัตกรรม นำพา

เกษตรยั่งยืน” ณ คณะทรัพยากรธรรมชาติ  มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่

จังหวัดสงขลา วันที่ 14-15  สิงหาคม 2561 (โปสเตอร์)

สุนทรียา  กาละวงศ์    ภาณุวัฒน์  ยิ้มย่อง  สุพัตร  ฤทธิ์รัตน์ และอภิรดี  แสงสืบชาติ. 2561. ปัจจัยที่มีผลต่อการเพิ่มปริมาณต้น

เอื้องมัชฉาในหลอดทดลอง.  การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 17 “สู่ก้าวใหม่ของพืชสวนไทย” ณ โรงแรม

เชียงใหม่ แกรนด์วิว แอนด์ คอนเวนชั่น เซ็นต์เตอร์ จังหวัดเชียงใหม่  วันที่ 19-21  พฤศจิกายน 2561 (โปสเตอร์)

สุนทรียา กาละวงศ์ , วารุต เขมวงค์,  อัครชัย พลหาญ และอภิรดี เสียงสืบชาติ. 2562. การหาสภาวะที่เหมาะสมโดยใช้การ

ออกแบบการทดลองแบบส่วนประสมกลาง (Central Composite Design) เพื่อการเลี้ยงเห็ดนางรมฮังการีจากผักตบชวา

การประชุมวิชาการงานเกษตรนเรศวรครั้งที่ 16 ณ คณะเกษตรศาสตร์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

มหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก วันที่ 2-3  กรกฎาคม 2562 (โปสเตอร์)

สุนทรียา กาละวงศ์, ศิวนาถ จันทร์สุข และอภิรดี เสียงสืบชาติ. 2562. การร่นระยะเวลาการขยายพันธุ์ในหลอดทดลองและปรับ

สภาพปลูกด้วยระบบไฮโดรโปรนิกส์ของต้นไม้น้ำ Cryptocoryne wendtii . การประชุมวิชาการพืชศาสตร์ ครั้งที่ 6 “วิจัย

พืชศาสตร์ก้าวหน้า พัฒนานวัตกรรม นำพาเกษตรยั่งยืน” ณ คณะทรัพยากรธรรมชาติ  มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

วิทยาเขตหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา วันที่ 15-16  สิงหาคม 2562 (บรรยาย)

รางวัลที่ได้รับ

2012    Honorable mention, Innovations in Agriculture and Natural Resources, Faculty of Natural Resources,

Prince of Songkla University, Thailand (Oral presentation)

2014    Champion’s Award 1st, Plant Science Academic Conference, Faculty of Natural Resources,

Prince of  Songkla University, Thailand (Poster)

2014     Popular Vote Award, Plant Science Academic Conference, Faculty of Natural Resources,

Prince of  Songkla University, Thailand (Poster)

2017      Outstanding Award, The 5th Higher Education Research Promotion Congress “HERB CONGRESS V”,

Udon Thani Rajabhat University,  Thailand (Oral presentation)

2018     รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1  ในการประชุมวิชาการพืชศาสตร์ครั้งที่ 5 “วิจัยพืชศาสตร์ก้าวหน้า พัฒนานวัตกรรม นำพา

เกษตรยั่งยืน” ณ คณะทรัพยากรธรรมชาติ  มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ (โปสเตอร์)

2019     รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1  ในการประชุมวิชาการพืชศาสตร์ครั้งที่ 6 “วิจัยพืชศาสตร์ก้าวหน้า พัฒนานวัตกรรม นำพา

เกษตรยั่งยืน” ณ คณะทรัพยากรธรรมชาติ  มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่

(บรรยาย)

2020   รางวัลชมเชย  โครงการออมสินยุวพัฒน์รักษ์ถิ่น 2 มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ชื่อทีม “เด็ก Dek Dej

Guppy”  ให้กับนิสิตสาขาเกษตรและเทคโนโลยีการเกษตร (อาจารย์ที่ปรึกษาหลักในโครงการ)

2021    รางวัลชนะเลิศอันดับ 1  การประกวดในโครงการพัฒนาศักยภาพวิสาหกิจชุมชนและธุรกิจเริ่มต้น (Startup) ด้วยงานวิจัย

และนวัตกรรมศตวรรษที่ 21 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา

ชื่อทีมธุรกิจ “STS Lab and Garden” ให้กับนิสิตสาขาเกษตรและเทคโนโลยีการเกษตร (อาจารย์ที่ปรึกษาหลักใน

โครงการ)

2021   รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1  การประกวดในโครงการพัฒนาศักยภาพวิสาหกิจชุมชนและธุรกิจเริ่มต้น (Startup) ด้วยงาน

วิจัยและนวัตกรรมศตวรรษที่ 21 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ชื่อ

ทีมธุรกิจ “Brother Guppy” ให้กับผู้ประกับการขายปลาหางนกยูงส่งออก

ผลงานอื่นๆ

Experience in teaching:

หลักการไม้ผล

ศัตรูพืชและการป้องกันกำจัด

การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อของพืชเพื่อการเกษตร

ภาษาอังกฤษสำหรับการเกษตร

การจัดการฟาร์ม

การเพาะเลี้ยงกล้วยไม้

ไม้ดอกไม้ประดับ

การเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพเกษตร

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพเกษตรศาสตร์

การฝึกประสบการณ์อาชีพเกษตรศาสตร์

ปัญหาพิเศษทางการเกษตร

 

 

 

ประสบการณ์ด้านงานประกันคุณภาพการศึกษา:

­   คณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจำปีการศึกษา

2558-2562 ระดับหลักสูตร (เกษตรและเทคโนโลยีการเกษตร)

­   คณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในเชิงรุก คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีการศึกษา 2558-2562

­   ผู้ตรวจประเมินคณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร (มหาวิทยาลัยราชภัฏ)

ประสบการณ์ด้านอื่นๆ:

วิทยาการ การอบรมเชิงปฏิบัติการ การเพาะเห็ดจากผักตบชวา และตอซังข้าว อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี ระหว่างวันที่ 17-19

มกราคม 2561 จัดโดยบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา

วิทยากร เรื่องการเรียนรู้และการส่งเสริมการใช้จุลินทรีย์ เพื่อพัฒนาระบบเกษตรอินทรีย์ และลดการพึ่งพาเคมีภัณฑ์เกษตร ใน

โครงการส่งเสริมและพัฒนา ระบบเกษตรอินทรีย์เพื่อเสริมศักยภาพและยกระดับคุณภาพชีวิต ในวันที่ ๒-๔, ๘-๑๐

พฤษภาคม ๒๕๖๑ ณ อําเภอสอง, อําเภอสูงเม่น, อําเภอเด่นชัย, อําเภอลอง จังหวัดแพร่, อำเภอจุน, อำเภอดอกคำใต้

จังหวัดพะเยา จัดโดยมหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ

­วิทยาการ หัวข้อ การประกอบชุดปลูกผักไฮโดรโปนิกส์อย่างง่าย ในวันที่ 3-4 กันยายน 2561 ณ อาคารวิชาการ ๓ มหาวิทยาลัย

สุโขทัยธรรมาธิราช ต.บางพูด  อ.ปากเกร็ด  จ.นนทบุรี

วิทยาการ หลักสูตรฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ หัวข้อ เทคนิคกาเพาะเลี้ยงเห็ดในถุงและการเพาะเห็ดในตระกร้า ในวันที่ 31 มีนาคม

2562 ณ ชุมชนสนามมวย จ.กรุงเทพฯ จัดโดยมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร

วิทยาการ หลักสูตรฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง เทคนิคการเพาะเลี้ยงเห็ดนางรมในถุง ในวันที่ ๒๓ เดือน ธันวาคม ๒๕๖๒ ณ

โรงเรียนบางปะอิน  จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

­วิทยาการ หัวข้อ เทคนิคการเพาะเลี้ยงเห็ดในถุงพลาสติก ในวันที่ 30 มีนาคม  2562 ณ วัดท่ากระบือ อ.บางยาง  จ.สมุทสาคร

­วิทยาการ หัวข้อ การประกอบชุดปลูกผักไฮโดรโปนิกส์อย่างง่าย ในวันที่ 24 กุมภาพันธ์  2563 ณ

โรงเรียนป้อมนาคราชสวาทยานนท์  จ.กรุงเทพฯ

อาจารย์พิเศษให้ความรู้กับนักศึกษา สำหรับสอนรายวิชา ชว412 หลักการด้านเทคโนโลยีชีวภาพ ในเสาร์ และอาทิตย์ที่ 15-16

กันยายน  2561 และ 29-30 กันยายน  2561 ณ สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ  มหาวิทยาลัยแม่โจ้แพร่-เฉลิมพระเกียรติ

ต.แม่ทราย  อ.ร้องกวาง  จ.แพร่