Single View Blog 1
รองศาสตราจารย์ ดร.พงศ์รัศมิ์ เฟื่องฟู

ผลงาน

ความเชี่ยวชาญ

คณิตศาสตร์

การสอนคณิตศาสตร์

คณิตศาสตรศึกษา

คณิตศาสตร์บริสุทธิ์

คณิตศาสตร์ประยุกต์

 

ผลงานวิจัย / ผลงานวิชาการ

1. ผลงานวิชาการ (ประเภท เอกสารประกอบการสอน เอกสารคำสอน ตำรา หนังสือ)

(1.1) พงศ์รัศมิ์  เฟื่องฟู.  (2556).  เอกสารประกอบการสอน รายวิชา พรีแคลคูลัส.  สาขาวิชาคณิตศาสตร์ (ค.บ.) คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา.

(1.2) พงศ์รัศมิ์  เฟื่องฟู.  (2559).  เอกสารคำสอนรายวิชา ตรีโกณมิติและการประยุกต์.  สาขาวิชาคณิตศาสตร์ (ค.บ.) คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา.

(1.3) พงศ์รัศมิ์  เฟื่องฟู.  (2560). ทฤษฎีจำนวน. สาขาวิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา.

2. ผลงานวิจัย ซึ่งเป็นบทความวิจัยนานาชาติ ปัจจุบันข้าพเจ้ามีความสนใจที่จะศึกษาเกี่ยวกับหัวข้อการพิสูจน์ทฤษฎีบทจุดตรึงและการประยุกต์ (Fixed Point Theory and Applications) และมีงานวิจัยที่ส่งตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารนานาชาติในฐานข้อมูลสากล 10 ฉบับ และระดับชาติ 1 ฉบับ ดังรายละเอียดต่อไปนี้

(2.1) Pongrus Phuangphoo and Poom Kumam. (2012) “Modified block iterative procedure for solving the common solution of fixed point problems for two countable families of total quasi -f- asymptotically nonexpansive mapping with application”.  Fixed Point Theory and Applications, Vol.2012(198), 23 pages. (ISI 2013 Impact Factor 2.49)

(2.2) Pongrus Phuangphoo and Poom Kumam. (2012). “Approximation theorems for solving common solution of a system of mixed equilibrium problems and variational inequality problems and fixed point problems for  asymptotically strict pseudocontractions in the intermediate sense”.  Applied Mathematics and Computations, Vol.21,  pp.837-855.  (ISI 2012 Impact Factor 1.35)

(2.3) Chatchawan Watchararuangwit, Pongrus Phuangphoo and Poom Kumam. (2012).“A hybrid projection method for solving the common solution of system of equilibrium problems and fixed point problems for asymptotically strict pseudocontractions in the intermediate sense in Hilbert spaces”.  Journal of Inequalities and Applications. Vol. 2012:252 doi:10.1186/1029-242X-2012-252. (ISI 2012 Impact Factor 0.82)

(2.4) Pongrus Phuangphoo and Poom Kumam. (2013) “Two block  hybrid projection method for solving a common solution for a system of generalized equilibrium problems and fixed point problems for two countable families”.    Optimization Letter, 19 pages. Vol.7 Issue 8 (ISI 2012 Impact Factor 1.654)

(2.5) Pongrus Phuangphoo and Poom Kumam. (2013) “A new hybrid projection algorithm for system of equilibrium problems and variational inequality problems and two finite families of quasi -f- nonexpansive mappings”. Abstract and Applied Analysis, Vol. 2013, Article ID 107296, 13 pages. (ISI 2012 Impact Factor 1.102)

(2.6) Pongrus Phuangphoo and Poom Kumam. (2013) “Existence and approximation for a solution of a generalized equilibrium problem on the dual space of a Banach space”. Fixed Point Theory and Applications, Vol. 2013,  22 pages. (ISI 2013 Impact Factor 2.49)

(2.7) Pongrus Phuangphoo and Poom Kumam. (2013) “Existence and modification of halpern-mann iterations for fixed point and generalized mixed equilibrium problems with a bifunction defined on the dual space”. Journal of Applied Mathematics, Vol. 2013, Article ID 753096, 14 pages.  (ISI 2012 Impact Factor 0.834)

(2.8) Pongrus Phuangphoo and Poom Kumam. (2013) “An iterative procedure for solving the common solution of two total quasi -f- asymptotically nonexpansive multi-valued mappings in Banach spaces”.  Journal of Applied mathematics and Computing, Doi:10.1007/s12190-012-0630-4, 18 pages.  (Scopus)

(2.9) Pongrus  Phuangphoo and Poom Kumam. (2015).  Approximation theorems for solving the common solution for system of generalized equilibrium problems and fixed point problems and variational inequality problems. Proceedings of the 16th International Conference on Fuzzy System (FS'15), November 7 - 9, 2015, Rome, Italy.

(2.10) Khanittha Promluang, Pongrus Phuangphoo and Poom Kumam. (2016). “The common solutions of complementarity problems and a zero point of Maximal monotone operators by using the hybrid projection method”  International Journal of Mathematics and Computer in Simulation.  Vol.10, 2016, pp. 152 – 160. (Scopus)

(2.11) Pongrus  Phuangphoo. (2015).  Convergence theorem for solving the common solution of system of  generalized equilibrium and variational inequality and fixed point problems with application to complementarity problem.  Journal of Eduactional Studies. Vol. 9(1), pp. 91-96. (TCI 1)

3. ผลงานวิจัย ซึ่งเป็นบทความวิจัยภาษาไทย ปัจจุบันข้าพเจ้ามีความสนใจที่จะศึกษาเกี่ยวกับหัวข้อการสอนคณิตศาสตร์ หรือคณิตศาสตร์ศึกษา ซึ่งมีผลงานวิจัยที่ส่งตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารระดับชาติในฐานข้อมูล TCI กลุ่ม 1 และ 2 จำนวน 9 ฉบับ ดังรายละเอียดต่อไปนี้

(3.1) อัครพงศ์  นารีเปน และพงศ์รัศมิ์  เฟื่องฟู. (2558). การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความน่าจะเป็น สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยเน้นทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์. ครุศาสตร์สาร. 9(1), หน้า 83-90.

(3.2) เจนจิรา พึ่งสุข และพงศ์รัศมิ์  เฟื่องฟู. (2558).  การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง โจทย์ปัญหาระคน โดยเน้นการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3. ครุศาสตร์สาร. 9(2), หน้า 77-86.

(3.3) ภิรมย์ญา  ธงสินชัยพร และพงศ์รัศมิ์  เฟื่องฟู. (2558).  การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง ฟังก์ชัน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน. ครุศาสตร์สาร. 9(2), หน้า 87-94.

(3.4) พงศ์รัศมิ์  เฟื่องฟู, สมภพ  แซ่ลี้, ปรวีณ์  โชติพิทยสุนนท์, นันทพร  ชื่นสุพันธรัตน์, กฤษฎา  สังขมงคล และวีรภัทร เผ่าพงศ์ประเสริฐ. (2559).  การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยเน้นทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ เรื่อง อสมการ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3. วารสารก้าวทันโลกวิทยาศาสตร์.  16(1), หน้า 62-72.

(3.5) อดิศร  ลิประเสริฐ และพงศ์รัศมิ์  เฟื่องฟู. (2559-2560). การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้โปรแกรมเรขาคณิตพลวัต. วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. 11(1), หน้า 188-197.

(3.6) พงศ์รัศมิ์  เฟื่องฟู. (2560). การพัฒนาชุดกิจกรรมที่เน้นการเชื่อมโยงกับสถานการณ์จริง วิชา พรีแคลคูลัส สำหรับนิสิตสาขาวิชาคณิตศาสตร์ (ค.บ. 5 ปี). ครุศาสตร์สาร. 11(2), 135-151.

(3.7) ปุณยวัจน์ เปรมปรีดิ์, สมภพ แซ่ลี้, วรรณภร ศิริพละ, มณีนาถ แก้วเนียม และพงศ์รัศมิ์  เฟื่องฟู. (2561). ผลการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะ เรื่อง การบวก การลบ การคูณ และการหาร จำนวนเต็ม สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ตามแนวการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ (TAI).  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาศรีนครินทรวิโรฒ. 13(2), เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม 2561, หน้า 70 – 93.

(3.8) สุนิสา ภามาศ, สมภพ แซ่ลี้, วรรณภร ศิริพละ, มณีนาถ แก้วเนียม และพงศ์รัศมิ์  เฟื่องฟู. (2561). ผลการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง เลขยกกำลัง ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาศรีนครินทรวิโรฒ. 13(2), เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม 2561, หน้า 184 – 193.

(3.9) จิรศักดิ์ รอบรู้, ปุณยวัจน์ เปรมปรีดิ์, สมภพ แซ่ลี้ และพงศ์รัศมิ์  เฟื่องฟู. (2562). การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวโดยใช้การจัดการเรียนรู้ด้วยรูปแบบ SSCS. ครุศาสตร์สาร. 13(2), เดือนกรกฎาคม -ธันวาคม 2562, หน้า 167 – 182.

4. ผลงานวิจัย ซึ่งเป็นบทความวิจัยภาษาไทยในรายงานประชุมวิชาการ โดยข้าพเจ้าได้ทำวิจัยร่วมกับนักศึกษาระดับปริญญาตรี ค.บ. (คณิตศาสตร์) ที่ข้าพเจ้าเป็นอาจารย์ที่ปรึกษางานวิจัย/อาจารย์นิเทศก์/อาจารย์ที่ปรึกษาบัณฑิตนิพนธ์/อาจารย์ที่ปรึกษาครุนิพนธ์/กรรมการสอบ 5 บท โดยข้าพเจ้ามีความสนใจที่จะศึกษาและทำวิจัยทางการศึกษาและวิจัยในชั้นเรียนเกี่ยวกับหัวข้อการสอนคณิตศาสตร์ หรือคณิตศาสตรศึกษา ซึ่งมีผลงานวิจัยที่ได้ผ่านการนำเสนอปากเปล่า (Oral Presentation) และส่งบทความตีพิมพ์เผยแพร่ในเล่มรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์จากการประชุมวิชาการระดับชาติหรือนานาชาติ จำนวน 47 ฉบับ ดังมีรายละเอียดต่อไปนี้

(4.1)  พิมพ์ใจ รัตนทิพย์ และพงศ์รัศมิ์ เฟื่องฟู. (2561). ผลของการใช้ชุดการสอน เรื่อง ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรที่มีต่อผลการเรียนรู้ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3. เอกสารประกอบประชุมนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ สาขาการศึกษาและสาขาที่เกี่ยวข้องในงาน The 14th National Conference “Advancing Innovation and Research Excellence for Transforming Education” ณ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร นครปฐม, วันที่ 23 มิถุนายน 2561, หน้า 362 – 370.

(4.2) กนกพล จันทร์ดารัตน์, สมภพ แซ่ลี้ และพงศ์รัศมิ์ เฟื่องฟู. การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยใช้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้เทคนิค KWDL. รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติของนักศึกษาสาขาการศึกษาระดับปริญญาตรี ครั้งที่ 1. ณ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา กรุงเทพมหานคร, วันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2562, หน้า 2911-2920.

(4.3) กิตติศักดิ์ ลามุล, สมภพ แซ่ลี้ และพงศ์รัศมิ์ เฟื่องฟู. การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง เศษส่วน โดยใช้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติของนักศึกษาสาขาการศึกษาระดับปริญญาตรี ครั้งที่ 1. ณ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา กรุงเทพมหานคร, วันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2562, หน้า 2921-2931

(4.4) ภมรพล ทองเหลือง, สมภพ แซ่ลี้ และพงศ์รัศมิ์ เฟื่องฟู. การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สำหรับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ด้วยรูปแบบการจัดการเรียนรู้เทคนิค STAD. รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติของนักศึกษาสาขาการศึกษาระดับปริญญาตรี ครั้งที่ 1. ณ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา กรุงเทพมหานคร, วันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2562, หน้า 2968-2975.

(4.5) รวิชา  แทนด้วง, สมภพ แซ่ลี้ และพงศ์รัศมิ์ เฟื่องฟู. การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง เลขยกกำลัง โดยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD.ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติของนักศึกษาสาขาการศึกษาระดับปริญญาตรี ครั้งที่ 1. ณ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา กรุงเทพมหานคร,  วันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2562, หน้า 2976-2986.

(4.6) วรวรรณ  สรรพกุล, สมภพ แซ่ลี้ และพงศ์รัศมิ์ เฟื่องฟู. การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง เลขยกกำลัง ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ด้วยวิธีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD. รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติของนักศึกษาสาขาการศึกษาระดับปริญญาตรี ครั้งที่ 1. ณ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา กรุงเทพมหานคร, วันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2562, หน้า 2996-3004.

(4.7) สุธิดา พลกัลป์, สมภพ แซ่ลี้ และพงศ์รัศมิ์ เฟื่องฟู. การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง และความพึงพอใจต่อวิชาคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยใช้การเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค TGT. รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติของนักศึกษาสาขาการศึกษาระดับปริญญาตรี ครั้งที่ 1. ณ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา กรุงเทพมหานคร, วันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2562, หน้า 3005-3013.

(4.8) ภูมิพงศ์  ธรรมบุตร, สมภพ แซ่ลี้ และพงศ์รัศมิ์ เฟื่องฟู. การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบเทคนิค KWDL ร่วมกับแบบฝึกทักษะ. รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติของนักศึกษาสาขาการศึกษาระดับปริญญาตรี ครั้งที่ 1. ณ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา กรุงเทพมหานคร, วันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2562, หน้า 3056-3063.

(4.9) เจนณรงค์  บัวหาร, วรรณภร  ศิริพละ, สมภพ  แซ่ลี้ และพงศ์รัศมิ์  เฟื่องฟู. การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค TAI เรื่อง ความรู้เกี่ยวกับจำนวนจริง ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนเทพศิรินทร์ นนทบุรี. รายงานการประชุมวิชาการ เรื่อง The 3rd International Conference on Media Studies 2019, ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา กรุงเทพมหานคร, วันที่ 3 – 6 กรกฎาคม 2562, หน้า 540-554.

(4.10) กุลจิรา  มณีโชติชุติมา, วรรณภร  ศิริพละ, สมภพ  แซ่ลี้ และพงศ์รัศมิ์  เฟื่องฟู. การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง เลขยกกำลัง ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนราชวินิต มัธยม โดยการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD. รายงานการประชุมวิชาการ เรื่อง The 3rd International Conference on Media Studies 2019, ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา กรุงเทพมหานคร, วันที่ 3 – 6 กรกฎาคม 2562, หน้า 555-567.

(4.11) ทศพล  แซ่ล้อ, วรรณภร  ศิริพละ, สมภพ  แซ่ลี้ และพงศ์รัศมิ์  เฟื่องฟู. การศึกษา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ โดยการจัดการเรียนแบบสืบเสาะด้วยเทคนิค 5E เรื่อง เลขยกกำลัง ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนไตรมิตรวิทยาลัย. รายงานการประชุมวิชาการ เรื่อง The 3rd International Conference on Media Studies 2019, ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา กรุงเทพมหานคร, วันที่ 3 – 6 กรกฎาคม 2562, หน้า 568-581.

(4.12) อรดี  เย็นเกษม, วรรณภร  ศิริพละ, สมภพ  แซ่ลี้ และพงศ์รัศมิ์  เฟื่องฟู. การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง เลขยกกำลัง ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนราชวินิต มัธยม โดยการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค TGT. รายงานการประชุมวิชาการ เรื่อง The 3rd International Conference on Media Studies 2019, ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา กรุงเทพมหานคร, วันที่ 3 – 6 กรกฎาคม 2562, หน้า 582-595.

(4.13) กันทิมา  ป้องแดง, วรรณภร  ศิริพละ, สมภพ  แซ่ลี้, มณีนาถ  แก้วเนียม และพงศ์รัศมิ์  เฟื่องฟู. การศึกษาผลสัมฤทธิ์และความคงทนในการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง ทฤษฎีบทพีทาโกรัส ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD. รายงานการประชุมวิชาการ เรื่อง The 3rd International Conference on Media Studies 2019, ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา กรุงเทพมหานคร, วันที่ 3 – 6 กรกฎาคม 2562, หน้า 596-609.

(4.14) ดาริณี คมไธสง, วรรณภร ศิริพละ, สมภพ แซ่ลี้, มณีนาถ แก้วเนียม และพงศ์รัศมิ์ เฟื่องฟู. การศึกษาผลสัมฤทธิ์และความคงทนในการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง ระบบสมการ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค TAI. รายงานการประชุมวิชาการ เรื่อง The 3rd International Conference on Media Studies 2019, ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา กรุงเทพมหานคร, วันที่ 3 – 6 กรกฎาคม 2562, หน้า 610-623.

(4.15) ศรุตยา สมคิด, วรรณภร ศิริพละ, สมภพ แซ่ลี้, สำเริง ชื่นรังสิกุล และพงศ์รัศมิ์  เฟื่องฟู. การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD. รายงานการประชุมวิชาการ เรื่อง The 3rd International Conference on Media Studies 2019, ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา กรุงเทพมหานคร, วันที่ 3 – 6 กรกฎาคม 2562, หน้า 624-637.

(4.16) กิตติศักดิ์ สาครขำ, วรรณภร ศิริพละ, สมภพ  แซ่ลี้, นุกูล แก้วเนียม และพงศ์รัศมิ์  เฟื่องฟู. การศึกษาผลสัมฤทธิ์ในการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง ระบบสมการเชิงเส้น ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยใช้การจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิค KWDL. รายงานการประชุมวิชาการ เรื่อง The 3rd International Conference on Media Studies 2019, ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา กรุงเทพมหานคร, วันที่ 3 – 6 กรกฎาคม 2562, หน้า 639-650.

(4.17) พฤกษ์ สรรพวัฒน์, วรรณภร  ศิริพละ, สมภพ  แซ่ลี้, ชนธิชา เศตะพราหมณ์ และพงศ์รัศมิ์  เฟื่องฟู. การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง เลขยกกำลัง ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยใช้รูปแบบการเรียนรู้ซิปปาโมเดล (CIPPA MODEL). รายงานการประชุมวิชาการ เรื่อง The 3rd International Conference on Media Studies 2019, ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา กรุงเทพมหานคร, วันที่ 3 – 6 กรกฎาคม 2562, หน้า 651-663.

(4.18) กาญจนารัตน์ เสือสมบุญ, พิมพ์ชนก พิมพ์พิจิตร, สมภพ แซ่ลี้, พงศ์รัศมิ์ เฟื่องฟู, และปุณยวัจน์ เปรมปรีดิ์. การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยใช้การเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค TAI ร่วมกับ TGT. รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติของนักศึกษาสาขาการศึกษาระดับปริญญาตรี ครั้งที่ 2. ณ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา กรุงเทพมหานคร, วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2563, หน้า 4071-4081.

(4.19) เกตุศนีย์  อินทนนท์, ชัชพร  แก้วคำแสน, สมภพ แซ่ลี้, พงศ์รัศมิ์ เฟื่องฟู, และปุณยวัจน์ เปรมปรีดิ์. การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง อสมการ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิคเพื่อนคู่คิด. รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติของนักศึกษาสาขาการศึกษาระดับปริญญาตรี ครั้งที่ 2. ณ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา กรุงเทพมหานคร, วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2563, หน้า 4082-4090.

(4.20) ชนมาศ  มูลบรรจบ, ปุณยวัจน์  เปรมปรีดิ์, สมภพ แซ่ลี้, และพงศ์รัศมิ์ เฟื่องฟู. การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความคงทนในการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง เศษส่วน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือเทคนิค STAD ร่วมกับ TGT. รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติของนักศึกษาสาขาการศึกษาระดับปริญญาตรี ครั้งที่ 2. ณ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา กรุงเทพมหานคร, วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2563, หน้า 4127-4138.

(4.21) ชัยวิทย์  รักษาภักดี, ปุณยวัจน์  เปรมปรีดิ์, สมภพ แซ่ลี้, และพงศ์รัศมิ์ เฟื่องฟู. การศึกษาผลสัมฤทธิ์และความคงทนในการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง ทศนิยม ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือเทคนิค STAD ร่วมกับ แบบฝึกทักษะ. รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติของนักศึกษาสาขาการศึกษาระดับปริญญาตรี ครั้งที่ 2. ณ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา กรุงเทพมหานคร, วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2563, หน้า 4440-4451.

(4.22) ภควดี  โชติโก, ปุณยวัจน์  เปรมปรีดิ์, สมภพ แซ่ลี้, และพงศ์รัศมิ์ เฟื่องฟู. การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง ทศนิยม ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือเทคนิค STAD ร่วมกับ แบบฝึกทักษะ. รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติของนักศึกษาสาขาการศึกษาระดับปริญญาตรี ครั้งที่ 2. ณ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา กรุงเทพมหานคร, วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2563, หน้า 4452-4461.

(4.23) มณีรัตน์  พลยางนอก, ปุณยวัจน์  เปรมปรีดิ์, สมภพ แซ่ลี้, และพงศ์รัศมิ์ เฟื่องฟู. การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความคงทนในการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ด้วยการจัดการเรียนการสอน แบบกลุ่มช่วยรายบุคคล TAI. รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติของนักศึกษาสาขาการศึกษาระดับปริญญาตรี ครั้งที่ 2. ณ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา กรุงเทพมหานคร, วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2563, หน้า 4462-4471.

(4.24) สุดารัตน์  แก่นพินิจ, ปุณยวัจน์  เปรมปรีดิ์, สมภพ แซ่ลี้, และพงศ์รัศมิ์ เฟื่องฟู. การศึกษาผลสัมฤทธิ์และความคงทนในการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง เลขยกกำลัง ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ด้วยการจัดการเรียนการสอนแบบกลุ่มช่วยรายบุคคล TAI. รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติของนักศึกษาสาขาการศึกษาระดับปริญญาตรี ครั้งที่ 2. ณ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา กรุงเทพมหานคร, วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2563, หน้า 4472-4480.

(4.25) อธิวัฒน์  โพธิ์ทอง, ปุณยวัจน์  เปรมปรีดิ์, สมภพ แซ่ลี้, และพงศ์รัศมิ์ เฟื่องฟู. การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความคงทนในการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง สมการกำลังสอง ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบเทคนิค KWDL ร่วมกับ แบบฝึกทักษะ. รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติของนักศึกษาสาขาการศึกษาระดับปริญญาตรี ครั้งที่ 2. ณ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา กรุงเทพมหานคร, วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2563, หน้า 4481-4491.

(4.26) อรดี วาปีนา, ปุณยวัจน์  เปรมปรีดิ์, สมภพ แซ่ลี้, และพงศ์รัศมิ์ เฟื่องฟู. การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง อสมการ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ระหว่างการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD กับแบบปกติ. รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติของนักศึกษาสาขาการศึกษาระดับปริญญาตรี ครั้งที่ 2. ณ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา กรุงเทพมหานคร, วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2563, หน้า 4492-4502.

(4.27) สราวุธ ศรีประเสริฐ, ปุณยวัจน์  เปรมปรีดิ์, พงศ์รัศมิ์ เฟื่องฟู และสมภพ แซ่ลี้. การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง พีระมิด กรวย และทรงกลม ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนรัตนโกสินทร์สมโภชบางขุนเทียน โดยการจัดการเรียนรู้แบบค้นพบร่วมกับการจัดการเรียนแบบร่วมมือด้วยเทคนิค TGT. รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติของนักศึกษาสาขาการศึกษาระดับปริญญาตรี ครั้งที่ 3. ณ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา กรุงเทพมหานคร, วันที่ 19 มีนาคม 2564, หน้า 825-834.

(4.28) อธิวัฒน์  นัยวิกุล, ปุณยวัจน์  เปรมปรีดิ์, พงศ์รัศมิ์ เฟื่องฟู และสมภพ แซ่ลี้. ผลของการจัดการเรียนรู้แบบ SSCS ร่วมกับการใช้เบี้ยอรรถกร ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ เรื่อง อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3. รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติของนักศึกษาสาขาการศึกษาระดับปริญญาตรี ครั้งที่ 3. ณ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา กรุงเทพมหานคร, วันที่ 19 มีนาคม 2564, หน้า 835-844.

(4.29) ธิดารัตน์ โนนตาเถร, สกาวรัตน์ ดำละเอียด, ปุณยวัจน์  เปรมปรีดิ์, สมภพ แซ่ลี้, วรรณภร ศิริพละ และพงศ์รัศมิ์ เฟื่องฟู. การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เรื่อง อัตราส่วน ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบ SSCS. รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติของนักศึกษาสาขาการศึกษาระดับปริญญาตรี ครั้งที่ 3. ณ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา กรุงเทพมหานคร, วันที่ 19 มีนาคม 2564, หน้า 907-916.

(4.30) หมี่ก่า หมี่อแล, จันทร์จิรา วงศ์ณสรี, ปุณยวัจน์  เปรมปรีดิ์, สมภพ แซ่ลี้, วรรณภร ศิริพละ และพงศ์รัศมิ์ เฟื่องฟู. การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์โดยใช้การสอนแบบอุปนัยและนิรนัย เรื่อง สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติของนักศึกษาสาขาการศึกษาระดับปริญญาตรี ครั้งที่ 3. ณ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา กรุงเทพมหานคร, วันที่ 19 มีนาคม 2564, หน้า 917-926.

(4.31) พิราภรณ์ เรือนป่าโสมสกุล, จิตติมา แก้วสว่าง, ปุณยวัจน์  เปรมปรีดิ์, สมภพ แซ่ลี้, วรรณภร ศิริพละ และพงศ์รัศมิ์ เฟื่องฟู. การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง จำนวนจริง โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบอุปนัยและนิรนัย. รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติของนักศึกษาสาขาการศึกษาระดับปริญญาตรี ครั้งที่ 3. ณ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา กรุงเทพมหานคร, วันที่ 19 มีนาคม 2564, หน้า 927-936.

(4.32) สิทธิศักดิ์ โคตรมา, ดิสสมัย รัตนวรรณี, ปุณยวัจน์  เปรมปรีดิ์, สมภพ แซ่ลี้, วรรณภร ศิริพละ และพงศ์รัศมิ์ เฟื่องฟู. การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง สมการกำลังสองตัวแปรเดียว ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบ KWDL. รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติของนักศึกษาสาขาการศึกษาระดับปริญญาตรี ครั้งที่ 3. ณ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา กรุงเทพมหานคร, วันที่ 19 มีนาคม 2564, หน้า 937-945.

(4.33) ธนกฤต วิริยะจิตต์, ปุณยวัจน์  เปรมปรีดิ์, สมภพ แซ่ลี้, วรรณภร ศิริพละ และพงศ์รัศมิ์ เฟื่องฟู. การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความคงทนในการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง ภาคตัดกรวย ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (5E). รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติของนักศึกษาสาขาการศึกษาระดับปริญญาตรี ครั้งที่ 3. ณ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา กรุงเทพมหานคร, วันที่ 19 มีนาคม 2564, หน้า 1001-1011.

(4.34) ปาริชาติ นิลบุญเรือง, ปุณยวัจน์  เปรมปรีดิ์, สมภพ แซ่ลี้, วรรณภร ศิริพละ และพงศ์รัศมิ์ เฟื่องฟู. การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความน่าจะเป็น ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบด้วยเทคนิค KWDL. รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติของนักศึกษาสาขาการศึกษาระดับปริญญาตรี ครั้งที่ 3. ณ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา กรุงเทพมหานคร, วันที่ 19 มีนาคม 2564, หน้า 1012-1022.

(4.35) รสริน ร่มวิเชียร, ปุณยวัจน์ เปรมปรีดิ์, สมภพ แซ่ลี้, วรรณภร ศิริพละ และพงศ์รัศมิ์ เฟื่องฟู. การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์และความพึงพอใจในการเรียน เรื่อง สถิติ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es). รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติของนักศึกษาสาขาการศึกษาระดับปริญญาตรี ครั้งที่ 3. ณ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา กรุงเทพมหานคร, วันที่ 19 มีนาคม 2564, หน้า 1023-1032.

(4.36) ปารณีย์ โถประโคน, ปุณยวัจน์ เปรมปรีดิ์, สมภพ แซ่ลี้, วรรณภร ศิริพละ และพงศ์รัศมิ์ เฟื่องฟู. การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบเทคนิค KWDL ร่วมกับแบบฝึกทักษะ. รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติของนักศึกษาสาขาการศึกษาระดับปริญญาตรี ครั้งที่ 3. ณ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา กรุงเทพมหานคร, วันที่ 19 มีนาคม 2564, หน้า 1033-1043.

(4.37) สกุลเกต ไตรลักษณ์กุล, ปุณยวัจน์ เปรมปรีดิ์, สมภพ แซ่ลี้, วรรณภร ศิริพละ และพงศ์รัศมิ์ เฟื่องฟู. การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความคงทนในการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง สถิติ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้นตอน (5Es). รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติของนักศึกษาสาขาการศึกษาระดับปริญญาตรี ครั้งที่ 3. ณ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา กรุงเทพมหานคร, วันที่ 19 มีนาคม 2564, หน้า 1044-1054.

(4.38)  สุธิดา ชัมภูทนะ, ปุณยวัจน์ เปรมปรีดิ์, สมภพ แซ่ลี้, วรรณภร ศิริพละ และพงศ์รัศมิ์ เฟื่องฟู. การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความคงทนทางการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยใช้การจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิค KWDL. รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติของนักศึกษาสาขาการศึกษาระดับปริญญาตรี ครั้งที่ 3. ณ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา กรุงเทพมหานคร, วันที่ 19 มีนาคม 2564, หน้า 1055-1065.

(4.39) ณัฐพร กิติพันธยาพร, ปุณยวัจน์ เปรมปรีดิ์, สมภพ แซ่ลี้, วรรณภร ศิริพละ และพงศ์รัศมิ์ เฟื่องฟู. การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความคงทนในการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยใช้การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเทคนิค KWDL. รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติของนักศึกษาสาขาการศึกษาระดับปริญญาตรี ครั้งที่ 3. ณ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา กรุงเทพมหานคร, วันที่ 19 มีนาคม 2564, หน้า 1066-1078.

(4.40) โสภา แก้วหาญ, วรรณภร ศิริพละ, สมภพ แซ่ลี้, ปุณยวัจน์ เปรมปรีดิ์ และพงศ์รัศมิ์ เฟื่องฟู. การศึกษาผลสัมฤทธิ์และความคงทนในการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบ SSCS.  รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติของนักศึกษาสาขาการศึกษาระดับปริญญาตรี ครั้งที่ 4. ณ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา กรุงเทพมหานคร, วันที่ 18 มีนาคม 2565, หน้า 284-294.

(4.41) ณัฐพร ภูมิพันธ์, วรรณภร ศิริพละ, ปุณยวัจน์ เปรมปรีดิ์ และพงศ์รัศมิ์ เฟื่องฟู. การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบ SSCS ร่วมกับแบบฝึกทักษะ. รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติของนักศึกษาสาขาการศึกษาระดับปริญญาตรี ครั้งที่ 4. ณ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา กรุงเทพมหานคร, วันที่ 18 มีนาคม 2565, หน้า 295-305.

(4.42) เสาวลักษณ์ เล็กรัตน์, ชมพล พฤกษา, วรรณภร ศิริพละ, สมภพ แซ่ลี้, ปุณยวัจน์ เปรมปรีดิ์ และพงศ์รัศมิ์ เฟื่องฟู. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ เรื่อง อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว โดยใช้การจัดการเรียนรู้รูปแบบ SSCS ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนไตรมิตรวิทยาลัย. รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติของนักศึกษาสาขาการศึกษาระดับปริญญาตรี ครั้งที่ 4. ณ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา กรุงเทพมหานคร, วันที่ 18 มีนาคม 2565, หน้า 306-315.

(4.43) ณิชกมล ภรรยาทอง, อาณุภาพ สุขสำราญ, วรรณภร ศิริพละ, ปุณยวัจน์ เปรมปรีดิ์ และพงศ์รัศมิ์ เฟื่องฟู. ผลการจัดการเรียนรู้แบบอุปนัยหรือนิรนัยที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ เรื่อง ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3. รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติของนักศึกษาสาขาการศึกษาระดับปริญญาตรี ครั้งที่ 4. ณ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา กรุงเทพมหานคร, วันที่ 18 มีนาคม 2565, หน้า 336-346.

(4.44) ขวัญเรือน จันทะวงศ์, วรรณภร ศิริพละ, ปุณยวัจน์ เปรมปรีดิ์ และพงศ์รัศมิ์ เฟื่องฟู. การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความคงทนในการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง สมการ กำลังสองตัวแปรเดียว ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่จัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน. รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติของนักศึกษาสาขาการศึกษาระดับปริญญาตรี ครั้งที่ 4. ณ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา กรุงเทพมหานคร, วันที่ 18 มีนาคม 2565, หน้า 356-366.

(4.45) นิภาวรรณ วรรณภา, ดิสสมัย รัตนวรรณี, วรรณภร ศิริพละ, สมภพ แซ่ลี้, ปุณยวัจน์ เปรมปรีดิ์ และพงศ์รัศมิ์ เฟื่องฟู. การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความน่าจะเป็น ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนวัดประดู่ในทรงธรรม โดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบ STAR. รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติของนักศึกษาสาขาการศึกษาระดับปริญญาตรี ครั้งที่ 4. ณ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา กรุงเทพมหานคร, วันที่ 18 มีนาคม 2565, หน้า 390-400.

(4.46) อภิสรา ประชานันท์, มนต์วลี สิทธิประเสริฐ, ปุณยวัจน์ เปรมปรีดิ์, พงศ์รัศมิ์ เฟื่องฟู และสมภพ แซ่ลี้. การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยการจัดการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับด้าน โรงเรียนทวีธาภิเศก. รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติของนักศึกษาสาขาการศึกษาระดับปริญญาตรี ครั้งที่ 4. ณ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา กรุงเทพมหานคร, วันที่ 18 มีนาคม 2565, หน้า 412-420.

(4.47)  เบญญาภา ปิ่นเย็น, สกาวรัตน์ ดำละเอียด, วรรณภร ศิริพละ, สมภพ แซ่ลี้, ปุณยวัจน์ เปรมปรีดิ์ และพงศ์รัศมิ์ เฟื่องฟู. การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง สถิติ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยใช้สื่อประสม โรงเรียนวัดประดู่ในทรงธรรม. รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติของนักศึกษาสาขาการศึกษาระดับปริญญาตรี ครั้งที่ 4. ณ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา กรุงเทพมหานคร, วันที่ 18 มีนาคม 2565, หน้า 442-452.

 

5. ผลงานวิจัย ซึ่งเป็นบทความวิจัยนานาชาติที่ข้าพเจ้าได้มีการนำเสนอผลงาน (Oral Presentation) ในการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ 9 ฉบับ ดังรายละเอียดต่อไปนี้

(5.1) Pongrus  Phuangphoo, (2012), “Convergence of iterative solving mixed variational Inequalities and complementarity problems”, The 6th South East Asian Technical University Consortium (SEATUC) Symposium, March 6-7, 2012, KMUTT, Bangkok, Thailand.

(5.2) Pongrus  Phuangphoo, (2012), “Strong Convergence theorem for solving the solution for a system of generalized equilibrium problems”, The 6th International Conference on Fixed Point Theory and Applications, July 31 – August 1, 2012, Uttaradit Rajabhat University, Thailand.

(5.3) Pongrus  Phuangphoo, (2012), “A modified block hybrid iterative algorithm for solving a common solution for a system of generalized equilibrium problems and fixed point problems in Banach spaces”, The 15th International Conference of International Academy Physical Sciences, December 9 – 13, 2012 Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Thailand.

(5.4) Pongrus  Phuangphoo, (2013), “A Mann’s iterative algorithm for a system of equilibrium and variational inequality and countable families of quasi -f- nonexpansive mappings in Banach spaces”, The 7th Asian Conference on Fixed Point Theory and Optimization, July 18 – 20, 2013, Kasetsart University (Kamphaeng Saen Campus), Nakhon Pathom, Thailand.

(5.5) Pongrus  Phuangphoo. (2013). “A hybrid projection algorithm for two countable families of uniformly total quasi -f- asymptotically nonexpansive mapping in Banach spaces”, The 5th Science Research Conference, March 4 – 5, 2013, University of Phayao, Thailand.

(5.6) Pongrus  Phuangphoo. (2013). “Convergence theorem for finding the solution of fixed point problem of total quasi -f- asymptotically nonexpansive multi-valued mappings in Banach space”, The 39th Congress on Science and Technology of Thailand, October 21 – 23, 2013, Bangkok International Trade & Exhibition Centre (BITEC), Bangna, Bangkok, Thailand.

(5.7) Pongrus Phuangphoo. (2015).  Approximation theorems for solving the common for system of generalized equilibrium problems and fixed point problems and variational inequality problems, The Advanced in Computational Intelligence on Proceedings of the 16th International Conference on fuzzy system (FS’ 15) and Neural Networks (NN’ 15), 7 – 9 November 2015, Rome, Italy.

(5.8) Pongrus  Phuangphoo. (2016).  A halpern iteration for system of equilibrium and variational inequality and fixed point problems of families of quasi -f- asymptotically nonexpansive in Banach spaces. The 9th Asian Conference on Fixed Point Theory and Optimization 2016 (ACFPTO 2016). 18 – 20 May 2016,       Faculty of Science, King Mongkut’s University of Technology Thonburi, Bangkok, Thailand.

(5.9) Pongrus Phuangphoo. (2016).  Modifying two block hybrid projection method for solving the solution of equilibrium problems and fixed point problems for finite families of quasi -f- asymptotically nonexpansive mapping in the intermediate sense, The fifteen Asian Conference on Nonlinear Analysis and Optimization, 1-6 August 2016, Toki Messe, Niigata, Japan.

รางวัลที่ได้รับ

1) ได้มอบประกาศนีบัตร เพื่อแสดงว่า เป็นนักวิจัยดีเด่นของคณะครุศาสตร์ ประจำปีการศึกษา 2557

2) ได้รับการเสนอชื่อจากคณะเพื่อคัดเลือกนักวิจัยดีเด่นของมหาวิทยาลัย เมื่อวันที่ 16 เมษายน 2558

3) ได้รับรางวัลเหรียญทอง มีผลงานตีพิมพ์จำนวนมากในวารสารต่างๆ เนื่องในงานสัปดาห์วันวิทยาศาสตร์ พ.ศ. 2561

4) ได้รับรางวัลบุคลากรดีเด่น (สายวิชาการ) ประจำปี พ.ศ.2564 ตามโครงการอนุรักษ์สืบสานวัฒนธรรม ส่งท้ายปีเก่า ต้อนรับปีใหม่ พ.ศ. 2565

5) ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์มงกุฎไทย ชั้นสายสะพาย (ชั้นที่ 1) ชื่อ ประถมาภรณ์ เมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม 2564

ผลงานอื่นๆ

1. การเป็นผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการวิชาการ หรือคณะอนุกรรมการทางวิชาการ

(1.1) เคยเป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิร่วมออกข้อสอบแข่งขันคณิตศาสตร์โลก ณ เกาะฮ่องกง ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน  ประจำปี 2546

(1.2) เคยได้รับเชิญให้เป็นหัวหน้าทีมในการนำนักเรียน ระดับชั้นประถมศึกษาตอนปลายของ โรงเรียนวัดประยุรวงศาวาส พานักเรียนไปแข่งขันคณิตศาสตร์โลก ณ ฮ่องกง วันที่  15 – 20  กรกฎาคม  พ.ศ. 2547

(1.3) เคยได้เป็นกรรมการร่วมออกข้อสอบแข่งขันและเป็นกรรมการตัดสินการแข่งขันคณิตศาสตร์เพชรยอดมงกุฎชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระเทพรัตนสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี  ประจำปีการศึกษา 2555-2556

(1.4) เคยเป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิคัดเลือกข้อสอบแข่งขันวัดอัจฉริยภาพทางคณิตศาสตร์ ของบริษัทเซนเตอร์วันเอ็ดดูเคชัน จำกัด  ตั้งแต่ปีการศึกษา 2548 จนถึงปัจจุบัน

(1.5) เคยเป็นกรรมการกลั่นกรองบทความของครุศาสตร์สาร คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ประจำปี พ.ศ. 2557

(1.6) เคยเป็นกรรมการกลั่นกรองบทความของ Science and Technology RMUTT Journal ของคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ประจำปี พ.ศ. 2559, 2561

(1.7) เคยเป็นกรรมการกลั่นกรองบทความของสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ประจำปี พ.ศ. 2560

(1.8) เคยเป็นกรรมการสอบปากเปล่าวิทยานิพนธ์ระดับปริญญาโท ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ประจำปี พ.ศ. 2559

(1.9) เคยเป็นประธานสอบปากเปล่าวิทยานิพนธ์ระดับปริญญาโท ของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ และมหาวิทยาลัยรามคำแหง ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2560 จนถึงปัจจุบัน

(1.10) เคยเป็นกรรมการสอบปากเปล่าวิทยานิพนธ์ระดับปริญญาโท ของมหาวิทยาลัยรามคำแหง ประจำปี พ.ศ. 2561

(1.11) เคยเป็นประธานสอบป้องกันวิทยานิพนธ์ระดับปริญญาเอก ของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2560 จนถึงปัจจุบัน

(1.12) เคยเป็นประธานตรวจประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร ของมหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี ประจำปี พ.ศ. 2559 – 2561

(1.13) เคยเป็นประธานตรวจประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร ของมหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง ประจำปี พ.ศ. 2560 – 2562

(1.14) เคยเป็นกรรมการตรวจประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร ของมหาวิทยาลัยสวนดุสิต ประจำปี พ.ศ. 2561

(1.15) เคยเป็นประธานตรวจประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับคณะ ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ ประจำปี พ.ศ. 2559 – 2560, 2562

2. ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องหรือความชำนาญการอื่น ๆ (ถ้ามี)

การได้รับเชิญเป็นวิทยากรอบรมวิชาคณิตศาสตร์ตามหน่วยงานต่าง ๆ ที่รับเชิญ

(2.1) วิทยากรอบรมค่ายคณิตศาสตร์โลก  ระดับประถมศึกษา ของสำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ (สปช.) ปี พ.ศ. 2544

(2.2) วิทยากรอบรมคณิตศาสตร์โอลิมปิก ระดับประถมศึกษา ของโรงเรียนวัดประยุรวงศาวาส จังหวัดกรุงเทพมหานคร ปี พ.ศ. 2544 – พ.ศ. 2546

(2.3) วิทยากรอบรมคณิตศาสตร์โอลิมปิก ระดับประถมศึกษา ของโรงเรียนอนุบาลราชบุรี จังหวัดราชบุรี ปี พ.ศ. 2544 – พ.ศ. 2546

(2.4) วิทยากรอบรมคณิตศาสตร์โอลิมปิก ระดับประถมศึกษา ของโรงเรียนอนุบาลนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา  ปี พ.ศ. 2545 – พ.ศ. 2546

(2.5) วิทยากรอบรมคณิตศาสตร์โอลิมปิก ระดับประถมศึกษา ของโรงเรียนพญาไท กรุงเทพมหานคร  ปี พ.ศ. 2545 – พ.ศ. 2546

(2.6) วิทยากรอบรมคณิตศาสตร์เพื่อเตรียมตัวสอบเข้ามหาวิทยาลัย  การวิเคราะห์ข้อสอบ GAT “ความเชื่อมโยง” และ ข้อสอบ PAT 1 คณิตศาสตร์ ของโรงเรียนมัธยมวัดสิงห์ กรุงเทพมหานคร ปี พ.ศ. 2551

(2.7) วิทยากรอบรมคณิตศาสตร์เพื่อเตรียมตัวสอบเข้ามหาวิทยาลัย การวิเคราะห์ข้อสอบ GAT “ความเชื่อมโยง” และ ข้อสอบ PAT 1 คณิตศาสตร์ ของโรงเรียนยอแซฟอุปถัมภ์  จังหวัดนครปฐม ปี พ.ศ. 2552

(2.8) วิทยากรอบรมกระบวนการคิดคณิตศาสตร์ โครงการ Giftted และโครงการห้องกุหลาบเพชร  ระดับมัธยมศึกษา  ของโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย จังหวัดกรุงเทพมหานคร  ตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2547 – 2553

(2.9) วิทยากรอบรมกระบวนการคิดคณิตศาสตร์ โครงการ Giftted ระดับมัธยมศึกษา ของโรงเรียนบางปะกอกวิทยาคม  จังหวัดกรุงเทพมหานคร  ปี พ.ศ. 2551 – พ.ศ. 2552

(2.10) วิทยากรอบรมกระบวนการคิดคณิตศาสตร์ โครงการ Giftted ระดับมัธยมศึกษา ของโรงเรียนวัดราชบพิธ  จังหวัดกรุงเทพมหานคร  ปี พ.ศ. 2552 – ปัจจุบัน

(2.11) วิทยากรอบรมกระบวนการคิดเพื่อพัฒนาศักยภาพทางวิชาคณิตศาสตร์ ระดับประถมศึกษา ของโรงเรียนอนุบาลบ้านเด็กดี 2  จังหวัดชัยภูมิ  ปี พ.ศ. 2554

(2.12) วิทยากรรับเชิญโครงการอบรมคณิตศาสตร์บูรณาการให้กับนักเรียนความเป็นเลิศ ค่าย สสวท. ระดับประถมศึกษา จัดอบรมโดยคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ประจำปีการศึกษา 2555

(2.13) วิทยากรรับเชิญโครงการอบรมค่ายคณิตศาสตร์บูรณาการให้กับนักเรียนความเป็นเลิศ ของโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย จัดอบรมโดยคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ประจำปีการศึกษา 2556 – 2557

(2.14) วิทยากรรับเชิญโครงการอบรมค่ายคณิตศาสตร์บูรณาการให้กับนักเรียนความเป็นเลิศ ของโรงเรียนวัดราชบพิธ จัดอบรมโดยคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ประจำปีการศึกษา 2556 – 2557

(2.15) วิทยากรรับเชิญโครงการอบรมครู เรื่อง การใช้โปรแกรมสำเร็จรูปเพื่อการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ของสำนักการศึกษา กรุงเทพมหานคร ปี พ.ศ. 2561

(2.16) วิทยากรอบรมคณิตศาสตร์เพื่อเตรียมตัวสอบ เรื่อง “เทคนิคการข้อสอบโอเนตวิชาคณิตศาสตร์ ระดับชั้น ม.3 และ ม.6” ของโรงเรียนวัดบางมดวิทยา “สีสุกหวาดจวนอุปถัมภ์” กรุงเทพมหานคร ปี พ.ศ. 2561

(2.17) วิทยากรอบรมคณิตศาสตร์เพื่อเตรียมตัวสอบเข้า เรื่อง “เทคนิคการข้อสอบโอเนตวิชาคณิตศาสตร์ ระดับชั้น ม.3 และ ม.6” ของโรงเรียนวัดพุทธบูชา กรุงเทพมหานคร ปี พ.ศ. 2562

(2.18) วิทยากรรับเชิญวิทยากรบรรยายวิชาคณิตศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ณ โรงเรียนเบญจมราชาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ประจำปีการศึกษา 2562

(2.19) วิทยากรรับเชิญโครงการอบรมครูหลักสูตรเพิ่มศักยภาพครูให้มีสมรรถนะครูยุคใหม่สำหรับการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เรื่อง การจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวสมรรถนะ PISA (โครงการความร่วมมือกับ สสวท. ร่วมกับ ม.บส.) ปี พ.ศ. 2563

(2.20) วิทยากรรับเชิญโครงการการเสริมสร้างสมรรถนะและทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ระดับประถมศึกษา สำหรับนักเรียนห้องเรียนพิเศษ IEP โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา (ประถม) ปี พ.ศ. 2563

(2.21) วิทยากรรับเชิญโครงการอบรมครูหลักสูตรเพิ่มศักยภาพครูให้มีสมรรถนะครูยุคใหม่สำหรับการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เรื่อง หลักสูตรการจัดการเรียนการสอนฐานสมรรถนะคณิตศาสตร์ตามแนวของ สสวท. (โครงการความร่วมมือกับ สสวท. ร่วมกับ ม.บส.) ปี พ.ศ. 2564

3. ประสบการณ์ด้านการฝึกอบรม / สัมมนา / ศึกษาดูงาน

(3.1) ข้าพเจ้าได้ไปศึกษาดูงานทางด้านการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์และทางด้านการศึกษาของต่างประเทศ ตลอดจนศึกษาประเพณี วัฒนธรรมอีกด้วย  ได้แก่

3.1.1) ประเทศสาธารณรัฐเกาหลีใต้  ปี พ.ศ. 2547, พ.ศ. 2555, พ.ศ. 2557 และ พ.ศ. 2562

3.1.2) ประเทศนิวซีแลนด์  ปี พ.ศ. 2549

3.1.3) ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน ปี พ.ศ. 2550

3.1.4) ประเทศญี่ปุ่น  ปี พ.ศ. 2553,  พ.ศ. 2554  และ พ.ศ. 2555

3.1.5) ประเทศอินเดีย และแคชเมียร์  ปี พ.ศ. 2557

3.1.6) ประเทศสหราชอาณาจักรและฝรั่งเศส  ปี พ.ศ. 2557