Single View Blog 1
ผศ.ดร.พิมลมาศ พร้อมสุขกุล

ผลงาน

ความเชี่ยวชาญ

ผลงานวิจัย / ผลงานวิชาการ

ผลงานวิชาการ

1. พิมลมาศ พร้อมสุขกุล. (2563). พื้นฐานเปียโนประกอบแนวทำนอง. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์หจก. วรานนท์ เอ็นเตอร์ไพร์ส.

2. พิมลมาศ พร้อมสุขกุล. (2560). การวัดและประเมินผลทางดนตรี. กรุงเทพฯ:โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา.

3. พิมลมาศ พร้อมสุขกุล. (2560). เอกสารประกอบการสอน คีย์บอร์ดประกอบแนวทำนอง 3. กรุงเทพฯ:โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา.

บทความวิชาการ

พิมลมาศ พร้อมสุขกุล. (2555). การศึกษาดนตรีในระบบโรงเรียน. วารสารเพลงดนตรี  Music Journal 18(3), 10-14.

 

 

บทความวิจัย

1. Promsukkul, P. (2017). Motivations and Factors of Students toward Decision-Making to Study the Postgraduate Education in Music Program at College of Music, Bansomdejchaopraya Rajabhat University. Online Proceedings of Research ( International Oral Presentation): 11th Asia-Pacific Symposium for Music Education Research, 217-225. Melaka, Malaysia: UiTM Faculty of Music.

2. พิมลมาศ พร้อมสุขกุล. (2562). ความต้องการต่อการจัดการเรียนการสอนสาขาดนตรี ระดับบัณฑิตศึกษา กรณีศึกษา หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาดนตรีตะวันตก วิทยาลัยการดนตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา. (รายงานการประชุมสืบเนื่อง).   "3rd National & International Conference on Media Studies 2019" : (ICTM 2019), 772-784. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา.

3. พิมลมาศ พร้อมสุขกุล. (2562). การศึกษาแรงจูงใจและความต้องการของนักศึกษาสาขาดนตรี ระดับบัณฑิตศึกษา วิทยาลัยการดนตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา.  (รายงานการประชุมสืบเนื่อง). 14th National & International Sripatum University Conference: (SPUCON 2019 on Research and Innovation for Thailand), 1351-1360. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีปทุม.

4. ฉัตรพล สุดเนตร พิมลมาศ พร้อมสุขกุล พนัง ปานช่วย ประวีณา เอี่ยมยี่สุ่น (2562). การหาประสิทธิภาพชุดการสอนปฏิบัติรีคอร์  เดอร์แบบร่วมมือ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายวิทยาลัยนาฏศิลป. วารสารศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 6(2), 31-39. (TCI2)

5. เชษฐพงศ์ รอตฤดี พิมลมาศ พร้อมสุขกุล มนสิการ เหล่าวานิช ประวีนา เอี่ยมยี่สุ่น. (2563). ชุดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะทางด้านดนตรีตามแนวการสอนของออร์ฟและดาลโครซสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนรุ่งอรุณ. วารสารครุศาสตร์ปริทรรศน์ฯ คณะครุศาสตร์ มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย. 7(1), 133-144. (TCI2)

6. ชัยพร สว่างวรรณ์ พิมลมาศ พร้อมสุขกุล ชาลินี สุริยนเปล่งแสง ประวีนา เอี่ยมยี่สุ่น. (2563). การหาประสิทธิภาพชุดการสอนวิชาทฤษฎีดนตรีสากล 1 แบบโมเดลซิปปา (CIPPA MODEL) สำหรับนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1 (ปวช.1) วิทยาลัยนาฏศิลป. วารสารครุศาสตร์ปริทรรศน์ฯ คณะครุศาสตร์ มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย.7(1), 185-196. (TCI2)

7. จีรวัฒน์ แสงอนันต์ และพิมลมาศ พร้อมสุขกุล. (2564). ศึกษาเทคนิคการฝึกซ้อมรูดิเมนท์และจังหวะสวิงสำหรับ  กลองชุด กรณีศึกษา อาจารย์มังกร ปี่แก้ว อาจารย์ชนุตร์ เตชธนนันท์ และ อาจารย์สุทธิพงษ์ ปานคง.

วารสารดนตรีและการแสดง คณะดนตรีและการแสดง มหาวิทยาลัยบูรพา. 7(2), 18-31. (TCI2)

8. ณภัทร เฟื่องวุฒิ โดม สว่างอารมณ์ พิมลมาศ พร้อมสุขกุล วรสรณ์ เนตรทิพย์. (2561). ความต้องการของ นักเรียนและครูต่อการจัดการเรียนการสอน วิชาดนตรี กลุ่มสาระศิลปะ ระดับชั้นประถมศึกษา      ตอนปลาย สังกัดกรุงเทพมหานครเขตภาษีเจริญ. วารสารศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. 22(2), 22-39. (TCI2)

9. ณัฐพงศ์ กาญจนเรืองรัตน์ พิมลมาศ พร้อมสุขกุล ชาลินี สุริยนเปล่งแสง. (2563). การหาประสิทธิภาพชุดกิจกรรมเสริมหลักสูตรวิชาดนตรีตามแนวคิดดาลโครซ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนวรมงคล. วารสารศึกษาศาสตร์สาร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 4(2), 86-97. (TCI2)

10. ตติ แซ่แต่ พิมลมาศ พร้อมสุขกุล ชาลินี สุริยนเปล่งแสง และวรสรณ์ เนตรทิพย์. (2564). การสร้างชุดกิจกรรมการ ปฏิบัติกีตาร์ไฟฟ้าขั้นพื้นฐาน ชุมนุมดนตรีสากล โรงเรียนวัดยานนาวา สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาตอนปลาย. วารสารศิลปกรรมบูรพา. 24(1), 159-169. (TCI2)

11. ปยุต นาวิกะชีวิน พิมลมาศ พร้อมสุขกุล ชาลินี สุริยนเปล่งแสง และรุ่งเกียรติ สิริวงษ์สุวรรณ. (2563). การสร้างชุดฝึกทักษะการอ่านโน้ตกลองชุดขั้นพื้นฐานตามการเรียนรู้รายวิชาดนตรีสากล สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ถึงนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนสารสาสน์วิเทศบางบอน. วารสารศิลป์ปริทัศน์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา. 8(2). 1-7. (TCI2)

12. พิมตะวัน ลาภวณิชย์ พิมลมาศ พร้อมสุขกุล ชาลินี สุริยนเปล่งแสง และปรีญานันท์ พร้อมสุขกุล. (2563). การศึกษาการจัดการเรียนการสอนโสตทักษะในระดับอุดมศึกษา กรณีศึกษาหลักสูตรดุริยางคศาสตรบัณฑิต วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล. วารสารสหศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. 20(1), 39-52. (TCI2)

13. ภานุพงศ์ เพ็งเรือง พิมลมาศ พร้อมสุขกุล ชาลินี สุริยนเปล่งแสง และรุ่งเกียรติ สิริวงษ์สุวรรณ. (2563). การศึกษาการจัดการเรียนการสอนหลักสูตรวิชาชีพ ระยะสั้น สาขาวิชาดนตรี ในวิทยาลัยสารพัดช่างเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารสหศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล.  20(1), 53-67. (TCI2)

14. รินฤทัย พินิจ พิมลมาศ พร้อมสุขกุล เอกชัย พุหิรัญ และ นิพัต กาญจนหุต. (2564). แนวทางการจัดการเรียนการสอนดนตรีในระดับอุดมศึกษาสำหรับกลุ่มวิชาโยธวาทิตศึกษา : กรณีศึกษา สาขาวิชาดนตรีตะวันตก วิทยาลัยการดนตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา. วารสารสหศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. 21(1), 1-17. (TCI2)

15. อัญชลี สิริวงษ์สุวรรณ  พิมลมาศ พร้อมสุขกุล  ชาลินี สุริยนเปล่งแสง และ นัฏฐิกา สุนทรธนผล. (2562). การศึกษาการจัดการเรียนการสอนเครื่องสายสากล กรณีศึกษา นักเรียนโครงการพิเศษ โรงเรียนสารศาสตร์วิเทศน์บางบอน. วารสารศิลป์ปริทัศน์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา 7(1), 51-60. (TCI2)

16. ฮาร์มีน อ่อนทอง เอกชัย พุหิรัญ พิมลมาศ พร้อมสุขกุล และรุ่งเกียรติ สิริวงษ์สุวรรณ. (2563). การจัดการเรียนการสอนวิชาปฏิบัติกีตาร์เบสสมัยนิยมระดับอุดมศึกษาในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล.วารสารสหศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. 20(2), 119-130. (TCI2)

17.ธนกร วิริยาลัย และพิมลมาศ พร้อมสุขกุล. (2565). ศึกษาการจัดการเรียนรู้ดนตรีสำหรับเด็กปฐมวัย หลักสูตรดนตรีพื้นฐานสำหรับเด็ก โครงการศึกษาดนตรีสำหรับบุคคลทั่วไป วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล. วารสารดนตรีและการแสดง คณะดนตรีและการแสดง มหาวิทยาลัยบูรพา. 8(1), 21-33. (TCI2)

รางวัลที่ได้รับ

รางวัล Outstanding Presenter จากการนำเสนอผลงานวิจัยในงาน"3rd National & International Conference on Media Studies 2019" : (ICTM 2019) กรุงเทพฯ , มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา.

ผลงานอื่นๆ

นำเสนอผลงานวิจัยและเผยแพร่ผลงานวิจัยระดับนานาชาติ

1. พ.ศ. 2560 นำเสนอผลงานวิจัยระดับนานาชาติ  " Motivations and Factors of Students Toward Decision-Making to Study The Postgraduate Education in Music Program at College of Music, Bansomdejchaopraya Rajabhat University ในงาน 11th Asia – Pacific Symposium for Music Education Research (APSMER) (Oral Presentation) ณ Melaka ประเทศ Malaysia ระหว่างวันที่ 19- 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2560

2. พ.ศ. 2558 นำเสนอผลงานวิจัยระดับปริญญาเอก "Parental Involvement in the Development of Young Piano Students" ในงาน 10th Asia – Pacific Symposium for Music Education Research (APSMER) (Poster Presentation) ณ The Hong Kong Institute of Education Department of Cultural and Creative Arts ประเทศฮ่องกง ระหว่างวันที่ 7 - 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2558

3. พ.ศ. 2558 เผยแพร่บทความผลงานวิจัยระดับปริญญาเอก “"Parental Involvement in the Development of Young Piano Students" ” ตีพิมพ์ในวารสาร Fine Arts International Journal SRINAKHARINWIROT UNIVERSITY of the July – December, 2015 issue, ISBN 0859 -9866

ประวัติด้านการสอนและวิทยากรรับเชิญด้านหลักสูตรและวิจัยดนตรี

1. พ.ศ. 2563-ปัจจุบัน ที่ปรึกษาหลักสูตรดนตรี โครงการพัฒนาศักยภาพสู่ความเป็นเลิศทางดนตรี หลักสูตร Music Genius Program บริษัททรู ดิจิตอล พลัส จำกัด (บริษัทในเครือ บมจ. ทรู คอร์ปอเรชั่น)

2. พ.ศ. 2565 วิทยากรรับเชิญพิเศษ โครงการพัฒนาอาจารย์ ครั้งที่ 3 หัวข้อ "การวัดผลและประเมินผลทักษะทางดนตรี"         คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

3. พ.ศ. 2565 วิทยากรรับเชิญพิเศษ โครงการอบรมพัฒนาศักยภาพการวิจัยด้านดนตรีสำหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา หัวข้อ " Quantitative research in music education" การวิจัยเชิงปริมาณด้านดนตรีศึกษา" คณะดุริยางคศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี

4. พ.ศ. 2565 วิทยากรโครงการพัฒนาศักยภาพอาจารย์และนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา : ดนตรีศึกษา (สัมมนาแนวทางการนำเสนองานวิจัยและการเผยแพร่งานวิจัยด้านดนตรีศึกษา) สาขาวิชาดุริยางคศาสตร์สากล คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

5. พ.ศ. 2562   วิทยากรอบรมหลักสูตรฝึกอบรม ครูดนตรีเพื่อถ่ายทอดอัตลักษณ์ชาติพันธุ์ อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี สำหรับครูในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สพป.เขต 2 และ สพม. เขต9

6. พ.ศ. 2562    วิทยากรบรรยาย หัวข้อ การจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นการวัดและประเมินผลทักษะดนตรีและนาฏศิลป์ในศตวรรษที่ 21 โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

7. พ.ศ. 2561  วิทยากรโครงการพัฒนาศักยภาพนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา : ดนตรีศึกษา เรื่องการพัฒนาศักยภาพด้านการนำเสนอและการเผยแพร่งานวิจัยด้านดนตรีศึกษา สาขาวิชาดุริยางคศาสตร์สากล คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

ประวัติอาจารย์พิเศษ

1. พ.ศ. 2556-2558 อาจารย์พิเศษระดับปริญญาตรีและเตรียมอุดมดนตรี ปฏิบัติงานสอน ณ วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล รับผิดชอบการสอนในรายวิชา Keyboard Skills and Score Reading I-IV, วิชา Piano I-II และวิชา Written Skills and Aural Skills I-II (Aural Skills)

2.พ.ศ. 2559-2560   อาจารย์พิเศษระดับปริญญาตรี ปฏิบัติงานสอน ณ สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ สาขาวิชาคีตศิลป์สากล รับผิดชอบการสอนวิชา หลักวิจัยดนตรี