Single View Blog 1
ผศ.พงษ์พันธ์ นารีน้อย Phongphan Nareenoi, Asst. Prof.

ผลงาน

ความเชี่ยวชาญ

ประวัติศาสตร์  สังคมศาสตร์  การพัฒนาชุมชน

History, Social Sciences, Community Development

ผลงานวิจัย / ผลงานวิชาการ

วิจัย

1. พงษ์พันธ์ นารีน้อย. (2551). ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศไทยกับฟิลิปปินส์. สารนิพนธ์ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

2. พงษ์พันธ์ นารีน้อย. (2559). หลวงโกษา (ยัง) พระยาราชาเศรษฐี (ม่อเทียน ซื่อ) และเจ้าพระยาสุรสีห์  พิษณุวาธิราช (บุญมา). ในโครงการวิจัยสารานุกรมกรุงธนบุรีฉบับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ส สำหรับเยาวชน โดยทองเจือ เขียดทองและคณะ. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี.

3. คณกร สว่างเจริญ พงษ์พันธ์ นารีน้อย และเพียงธิดา เสรีสุทธิกูลชัย. (2564). ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการต่อศูนย์บริการแบบจุดเดียวเบ็ดเสร็จ (One Stop Service) ของสำนักงานบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา. ประจำปีงบประมาณ 2564. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา.

4.  พงษ์พันธ์ นารีน้อย กัณญาณัฐ เสียงใหญ่ จริยาภรณ์ เจริญชีพ. (2565). รูปแบบการมีส่วนร่วมของประชาชนในการป้องกันอาชญากรรมในพื้นที่แขวงหิรัญรูจี เขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร. ทุนวิจัยภายใน สถาบันวิจัยและพัฒนา ปีงบประมาณ                  2565  มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา.
5. คณกร สว่างเจริญ, สมบัติ ทีฆทรัพย์, พงษ์พันธ์ นารีน้อย และคณะ .(2565). ระบบตรวจจับและเตือนภัยฝุ่น 2.5PM. ทุนวิจัยภายใน บัณฑิตวิทยาลัย ปีงบประมาณ 2565  มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา.

6. คณกร สว่างเจริญ, สมบัติ ทีฆทรัพย์, พงษ์พันธ์ นารีน้อย และคณะ .(2565). รูปแบบนวัตกรรมภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อเสริมสร้างศักยภาพชุมชนในจังหวัดนครนายก ทุนวิจัยภายใน บัณฑิตวิทยาลัย ปีงบประมาณ 2565  มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา.

7. คณกร สว่างเจริญ, ธนภัทร จันทร์เจริญ , พงษ์พันธ์ นารีน้อย และคณะ .(2566).  การเสริมสร้างความสามารถการประเมินผลการเรียนรู้ในยุคดิจิทัลโดยใช้รูปแบบการประเมินแบบเสริมพลังอำนาจและการเป็นพี่เลี้ยงสำหรับครูประถมศึกษา” ประจำปีงบประมาณ 2566 ทุนวิจัยภายใน บัณฑิตวิทยาลัย ปีงบประมาณ 2566  มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา.(กำลังดำเนินการ)

8. คณกร สว่างเจริญ, ชัยวิชญ์ ม่วงหมี , พงษ์พันธ์ นารีน้อย และคณะ .(2566).การพัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยีการตลาดดิจิทัลชุมชนการท่องเที่ยว ชุมชนเชิงเกษตร กลุ่มวิสาหกิจชุมชนในจังหวัดสมุทรสาคร. ทุนวิจัยภายใน บัณฑิตวิทยาลัย ปีงบประมาณ 2566  มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา.(กำลังดำเนินการ)

 

บทความทางวิชาการ Academic  article

1. พงษ์พันธ์ นารีน้อย. (2559). ร้านอินทรโอสถ : พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ชุมชนย่านวัดราชคฤห์ พ.ศ. 2468-2558.  วารสารมนุษย์กับสังคม.ปีที่1 ฉบับที่1 (มกราคม-มิถุนายน). หน้า 64-80. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี.

2. พงษ์พันธ์ นารีน้อย. (2565). จากโบกอร์สู่ปุตราจายา: การดำเนินงานของเอเปคตามเป้าหมายโบกอร์และวิสัยทัศน์หลังปี 2020. BOGOR TO PUTRAJAYA: APEC'S IMPLEMENTATION OF BOGOR GOALS AND VISION AFTER 2020. TCI 1 วารสาร มจร. สังคมศาสตร์ปริทรรศน์, ปีที่11(4), กรกฎาคม-กันยายน 2565

3. พงษ์พันธ์ นารีน้อย, ประพันธ์ สหพัฒนา, อภิสิทธิ์ คุณวรปัญญา. (2566). ภาพลักษณ์องค์การและภาพลักษณ์ของข้าราชการตำรวจไทยในบริบทของประชาชนในพื้นที่แขวงหิรัญรูจี เขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร THE IMAGE OF THE OEGANIZATION AND THE IMAGE OF THAI POLICE OFFICERS IN THE CONTEXT OF THE PEOPLE IN HIRANRUCHI SUB-DISTRICT, THONBURI DISTRICT, BANGKOK. วารสารสหวิทยาการนวัตกรรมปริทรรศน์ TCI 2 ปีที่ 6 ฉบับที่ 3 พฤษภาคม - มิถุนายน 2566.

 

บทความวิจัย Research article

1. พงษ์พันธ์ นารีน้อย. (2551). การค้าข้าวระหว่างประเทศไทยกับฟิลิปปินส์ ค.ศ.1957 – 2008. ในข้าว : ความเชื่อมโยงวิถี  ชีวิตชาวเมือง และชาวชนบท หน้า 33-42. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.

2. พงษ์พันธ์ นารีน้อย.  (2551). ความพันธ์ระหว่างไทยกับฟิลิปปินส์ในสมัยอยุธยา. ในวารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี ปีที่2 ฉบับที่2 ตุลาคม 2550 – มีนาคม 2551. หน้า 28-39. กรุงเทพฯ : พิศิษฐ์การพิมพ์

3. คณกร สว่างเจริญ, พงษ์พันธ์ นารีน้อย , เพียงธิดา เสรีสุทธิกูลชัย . (2564). ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการต่อศูนย์บริการแบบจุดเดียวเบ็ดเสร็จ (One-Stop Service) ของสำนักงานบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา Users’ Satisfaction towards the One Stop Service Center of Graduate School, Bansomdejchaopraya Rajabhat University. TCI2 วารสารสหวิทยาการนวัตกรรมปริทรรศน์ ปีที่ 4(2), กรกฎาคม – ธันวาคม: 12-23. พระนครศรีอยุธยา : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

4. ศิวพร โพธิวิทย์, กัณญาณัฐ  เสียงใหญ่, พงษ์พันธ์ นารีน้อย. (2565).วิถีพลเมืองในระบอบประชาธิปไตยของนักศึกษาสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา. TCI 2 วารสารสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา  ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2565

5. พงษ์พันธ์ นารีน้อย กัณญาณัฐ เสียงใหญ่ จริยาภรณ์ เจริญชีพ. (2565). รูปแบบการมีส่วนร่วมของประชาชนในการป้องกันอาชญากรรมในพื้นที่แขวงหิรัญรูจี เขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร. TCI 1 วารสารรัชต์ภาคย์ (สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์)
Rajapark Journal (Journal of Humanities and Social Sciences) ปีที่ 17 ฉบับที่ 52 พฤษภาคม – มิถุนายน 2566

6. คณกร สว่างเจริญ, ลักษณา เกยุราพันธ์, พงษ์พันธ์ นารีน้อย. (2566). รูปแบบนวัตกรรมภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อเสริมสร้างศักยภาพชุมชนในจังหวัดนครนายก A DEVELOPMENT OF LOCAL WISDOM INNOVATION MODEL FOR ENHACING COMMUNITES’ POTENTIAL IN NAKON NAYOK PROVINCE.  TCI 1 Journal of Roi Kaensarn Academi  ปีที่ 8 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนกันยายน พ.ศ. 2566

7. พงษ์พันธ์ นารีน้อย, อารีวรรณ เอี่ยมสะอาด, อัจฉรา แก้วน้อย. (2566).  การติดตามและประเมินผลโครงการห่วงใยใส่ใจสุขภาพและการจัดการบริหารความTCI 2 วารสารสหวิทยาการนวัตกรรมปริทรรศน์ ปีที่ 7(4), กรกฎาคม-สิงหาคม 2567

9.คณกร สว่างเจริญ พงษ์พันธ์ นารีน้อย ธนภัทร จันทร์เจริญ สิริกร โตสติ. (2567).การเสริมสร้างความสามารถการประเมินผลการเรียนรู้ในยุคดิจิทัลโดยใช้รูปแบบการประเมินแบบเสริมพลังอำนาจ การชี้แนะ และเป็นพี่เลี้ยงสำหรับครูประถมศึกษา วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ TCI 1

 

Proceedings

1. กัณญาณัฐ เสียงใหญ่ พงษ์พันธ์ นารีน้อย ศิวพรโพธิวิทย์. (2564).  สาเหตุการยุบเลิกรัฐวิสาหกิจ กรณีศึกษาองค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์องค์การแบตเตอรี่และองค์การฟอกหนัง. เอกสารสืบเนื่องการประชุมวิชาการนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติและนานาชาติ พ.ศ.2564 ครั้งที่ 2 “สหวิทยาการเพื่อการพัฒนานวัตกรรมในศตวรรษที่ 21” วันที่ 20 มีนาคม 2564. มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา.

2. Anek Yaiin, PhrapaladRaphin Buddhisaro, Phra Komsan Jalearnwong,  Direk Duangloy,  Lampong Klomkul, Mallika Phumatana,  Phongphan Nareenoi. (2023). Potential Development of Slow Tourism Suitable for the Elderly in the Central Chao Phraya Basin Area Ayutthaya, Ang Thong, Sing Buri Provinces, the 3rd National and International Conference: The Next Normal Readjustment for Future Sustainable Development, which will be held on October 28th, 2023, at Bansomdejchaopraya Rajabhat University, Bangkok, Thailand.

3. Phra Mahachatchai Panyavachiro, Asst. Prof. Dr. Decha Kapko, Asst. Prof.Dr. Kanakorn Sawangcharoen, Asst. Prof.Dr. Praphan Sahapattana, Asst. Prof.Dr. Jariyaporn Charoencheep, Asst. Prof.Phongphan Nareenoi. (2023). The Human Competency Development on The Buddhist Innovation  in Thai Society. The 8th International Academic Conference (Online) The 8th International Academic Conference (Online) Topic culture and future “Indian Philosophy and Its Influence on Suvarnabhumi : Past and Present and future" Graduate School Mahachulalongkornrajavidyalaya University.

 

บทความปริทัศน์ Reviewed articles

1. พงษ์พันธ์ นารีน้อย. (2562). บทความปริทัศน์ Reviewed articles : การสำรวจศึกษาข้อมูลพื้นฐานของประเทศฟิลิปปินส์. TCI2 วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ปีที่ 13 (2) กรกฎาคม - ธันวาคม : 196-200.

 

Content สารสนเทศ

1.พงษ์พันธ์ นารีน้อย. (2559). หลวงโกษา (ยัง) พระยาราชาเศรษฐี (ม่อเทียน ซื่อ) และเจ้าพระยาสุรสีห์  พิษณุวาธิราช (บุญมา). ในโครงการวิจัยสารานุกรมกรุงธนบุรีฉบับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ส สำหรับเยาวชน โดยทองเจือ เขียดทองและคณะ. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี.

2.พงษ์พันธ์ นารีน้อย. (2563).ชาวมอญ ชาวจีน ในชุมชนย่านวัดราชคฤห์ เขตธนบุรี. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา

3.พงษ์พันธ์ นารีน้อย. (2563).ภาพประวัติศาสตร์เศรษฐกิจของชาติไทยในรัฐบาลจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ : บทบาทของสหรัฐอเมริกา ธนาคารโลก และสาธารณรัฐประชาชนจีน. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา

4.พงษ์พันธ์ นารีน้อย. (2564).ร้านแอนเทนน่า (Antenna Shop)ต้นแบบการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนในประเทศญี่ปุ่น. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา

5.พงษ์พันธ์ นารีน้อย. (2564).เอเปคกับไทย ในโลกหลัง COVID-19. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
6.พงษ์พันธ์ นารีน้อย. (2567).คน ทั่วไป เรียก ชื่อ ตรอก นี้ ว่า สะพาน เขียว Green Bridge. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
7.พงษ์พันธ์ นารีน้อย. (2567). สภาพพื้นที่แขวงหิรัญรูจี เขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา

 

ตำรา/เอกสารประกอบการสอน

พงษ์พันธ์ นารีน้อย. (2557). ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจและสังคมไทย. กรุงเทพฯ : ภาควิชาสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัย ราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา.

พงษ์พันธ์ นารีน้อย. (2567). เศรษฐกิจกับการพัฒนาสังคม. กรุงเทพฯ : ภาควิชาสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัย ราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา.

 

หนังสือ

1.พงษ์พันธ์ นารีน้อย. (2559). ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจเพื่อการพัฒนาชุมชน. กรุงเทพฯ : สหธรรมิก.

2. พงษ์พันธ์ นารีน้อย. (2560). เศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน.  ในสังคมไทยและสังคมโลกในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ : สหธรรมิก.

3.พงษ์พันธ์ นารีน้อย. (2560). ปราชญ์ท้องถิ่น. ในสังคมไทยและสังคมโลกในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ : สหธรรมิก.

4. พงษ์พันธ์ นารีน้อย. (2566). สังคมผู้สูงอายุและการวางแผนชีวิต.  ในชีวิตวิถีใหม่. กรุงเทพฯ : คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา

5.พงษ์พันธ์ นารีน้อย. (2566). พลวัตเศรษฐกิจ. ในรายวิชาGE 01202 พลวัตสังคมไทยและสังคมโลก. กรุงเทพฯ : คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา

รางวัลที่ได้รับ

1. จ.ช. : จัตุถาภรณ์ช้างเผือก (105)28 ก.ค. 2560 ประกาศ27 ก.ย. 2560 เล่มที่ 134 ตอนที่ 52 ข หน้า 259 (เล่มที่ 14/14) 16 ต.ค.2560

2. ต.ม. : ตริตาภรณ์มงกุฎไทย (112) 28 ก.ค. 2565  13 พ.ย. 2566 เล่มที่ 140 ตอนพิเศษ 3 ข หน้า 34 (เล่มที่14/6) 21 พ.ย. 66

ผลงานอื่นๆ

1. คณะกรรมการรายวิชาศึกษาทั่วไป  (วิชาสังคมไทยและสังคมโลก) คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา (พ.ศ.2554-2559)

2. ประธานคณะกรรมการรายวิชาศึกษาทั่วไป  (วิชาสังคมไทยและสังคมโลก) คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา (พ.ศ.2560-2561)

3. ผู้ช่วยคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา (พ.ศ.2561-2564)

4. รองคณบดี งานแผน งบประมาณ และงานวิจัย บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา (พ.ศ.2564-2567)

5. รองผู้อำนวยการสำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา (พ.ศ.2567-ปัจจุบัน)