Single View Blog 1
อ.กุลชาติ ทักษไพบูลย์

ผลงาน

ความเชี่ยวชาญ

- ปรัชญาการเมือง (Political Philosophy)

- ทฤษฎีการเมือง (Political Theory)

- การเมืองไทยร่วมสมัย: ประเด็นเฉพาะความขัดแย้งทางการเมือง
(Contemporary Thai Politics: Particularly Political Conflict)

ผลงานวิจัย / ผลงานวิชาการ

บทหนังสือ

กุลชาติ ทักษไพบูลย์. (2563). “การเลือกตั้ง 2562 กับการสร้างพื้นที่ใหม่ทางการเมือง.” (Thailand 2019 General Election and the Restaging of Political Space). ใน ไชยรัตน์ เจริญสินโอฬาร, บรรณาธิการ. การสร้างการรับรู้ในสังคมไทย เล่ม 3: การรับรู้ทางเลือก. กรุงเทพฯ: โครงการเมธีวิจัยอาวุโส ศ.ดร.ไชยรัตน์ เจริญสินโอฬาร คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.), 239-273.

กุลชาติ ทักษไพบูลย์. (2562). “การเมืองของถ้อยความเกลียดชัง: ภาษากับการสร้างความเกลียดชังในความขัดแย้งการเมืองไทย.” (The Politics of Hate Speech: Language and the Production of Hatred in Thai Political Conflict). ใน ไชยรัตน์ เจริญสินโอฬาร, บรรณาธิการ. การสร้างการรับรู้ในสังคมไทย เล่ม 2: อารมณ์ ความรู้สึกนึกคิด แอฟเฟ็คท์. กรุงเทพฯ: โครงการเมธีวิจัยอาวุโส ศ.ดร.ไชยรัตน์ เจริญสินโอฬาร คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.), 231-282.

กุลชาติ ทักษไพบูลย์. (2561). “ม็อบต้านโกง: สำนึกทางการเมืองเรื่องคอร์รัปชั่นของขบวนการเคลื่อนไหวทางการเมืองอนุรักษ์นิยมร่วมสมัย.” (Anti-Corruption Demonstration: The Anti-Corruption Awareness of the Contemporary Conservative Political Movement). ใน ไชยรัตน์ เจริญสินโอฬาร, บรรณาธิการ. การสร้างการรับรู้ในสังคมไทย เล่ม 1: เรื่องเล่า. กรุงเทพฯ: โครงการเมธีวิจัยอาวุโส ศ.ดร.ไชยรัตน์ เจริญสินโอฬาร คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.), 93-134.

บทความ

นราธร สายเส็ง, กุลชาติ ทักษไพบูลย์, ปวินท์ มินทอง, วิทยา วิสูตรเรืองเดช, อาทิตย์ อินธาระ, ตุลย์ จิรโชคโสภณ, อุทัช เกสรวิบูลย์. (2563). “เงื่อนไขเชิงปฏิบัติของการศึกษาเพื่อความเป็นพลเมือง: การรับรู้และปัญหาการจัดการเรียนการสอนสาระหน้าที่พลเมืองในสถานศึกษาเขตกรุงเทพมหานคร.” วารสารศิลปศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต. ปีที่ 15 ฉบับที่ 2 (มกราคม-มิถุนายน), 9-28.

กุลชาติ ทักษไพบูลย์. (2561). “การเมืองของถ้อยความเกลียดชัง: ภาษากับการสร้างความเกลียดชังในความขัดแย้งการเมืองไทย.” วารสารรัฐศาสตร์นิเทศ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. ปีที่ 4 ฉบับพิเศษ (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561), 141-204.

อรรถสิทธิ์ พานแก้ว ภัทรวุฒิ เฉยศิริ และ กุลชาติ ทักษไพบูลย์. (2561). “การพัฒนาบทบาทคณะกรรมการหมู่บ้าน (กม.): กลไกขับเคลื่อนประชารัฐตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง.” วารสารการเมืองการปกครอง. ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม - สิงหาคม 2561), 1-15.

กุลชาติ ทักษไพบูลย์. (2561). “คอร์รัปชั่นกับสังคมไทย: วาทกรรมโลกเสรีนิยมใหม่กับหนทางแก้ไขที่ขวางต้านประชาธิปไตย.” รัฐศาสตร์สาร. ปีที่ 39 ฉบับที่ 1 (มกราคม - เมษายน 2561), 89-118.

งานวิจัย

คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. (2564). โครงการการติดตามและประเมินผลตามนโยบาย กสทช. ที่สำคัญในด้านกิจการโทรทัศน์: การแก้ปัญหาอุตสาหกรรมโทรทัศน์ถดถอย” เสนอต่อ สำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) พ.ศ.2564 (ผู้ช่วยนักวิจัย)

คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. (2563). โครงการรวบรวมและจัดทำข้อมูลมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม “ประเพณี 12 เดือนอีสาน.” โดยการสนับสนุนงบประมาณจากกรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม พ.ศ.2563 (คณะผู้วิจัย)

กุลชาติ ทักษไพบูลย์. (2562). การเลือกตั้ง 2562 กับการสร้างพื้นที่ใหม่ทางการเมือง. (รายงานวิจัยของโครงการวิจัยย่อย) ภายใต้ชุดโครงการ “การสร้างการรับรู้ในสังคมไทย.” สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)

กุลชาติ ทักษไพบูลย์. (2561). การเมืองของถ้อยความเกลียดชัง: ภาษากับการสร้างความเกลียดชังในความขัดแย้งการเมืองไทย. (รายงานวิจัยของโครงการวิจัยย่อย) ภายใต้ชุดโครงการ “การสร้างการรับรู้ในสังคมไทย.” สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)

กุลชาติ ทักษไพบูลย์. (2560). ม็อบต้านโกง: สำนึกทางการเมืองเรื่องคอร์รัปชั่นของขบวนการเคลื่อนไหวทางการเมืองอนุรักษ์นิยมร่วมสมัย. (รายงานวิจัยของโครงการวิจัยย่อย) ภายใต้ชุดโครงการ “การสร้างการรับรู้ในสังคมไทย.” สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)

กุลชาติ ทักษไพบูลย์. (2560). การสำรวจความคิดว่าด้วยความเป็นพลเมืองภายใต้ความขัดแย้งทางการเมืองไทยในรอบทศวรรษ. (รายงานวิจัย) สนับสนุนโดย กองทุนวิจัย คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

กุลชาติ ทักษไพบูลย์. (2560). การรับรู้ของชุมชนท้องถิ่นต่อปัญหา โอกาส และความท้าทายในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน: กรณีศึกษาเทศบาลเมืองท่าโขลงและชุมชนท่าโขลง จังหวัดปทุมธานี. (รายงานวิจัย) สนับสนุนโดย กองทุนวิจัย คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

รางวัลที่ได้รับ

ผลงานอื่นๆ