Single View Blog 1
ผศ.ดร.จินดา ยืนยงชัยวัฒน์

ผลงาน

ความเชี่ยวชาญ

1. Partial oxidation of methane or propane by perovskite membranes

2. Oxygen permeation by membrane reactor

3. Cathode materials in Solid Oxide Fuel Cell

ผลงานวิจัย / ผลงานวิชาการ

ผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์

1. Tantayanon S, Yeyongchaiwat J, Lou J, Ma Y.H.  Synthesis and characterization of Sr and Fe substituted LaGaO3 perovskties and membranes.  Separation and Purification Technology 2003, 32, 319.

2. Yeyongchaiwat J, Tantayanon S, Lou J, Ma Y.H. Synthesis of Sr- and Fe-doped LaGaO3 perovskties by the modified citrate method. Journal of Materials Science 2004, 39, 7067.

3. Sukpirom N, Iamsaard S, Charojrochkul S, Yeyongchaiwat J, Synthesis and properties of LaNi1-xFexO3-d  as cathode materials in SOFC. Journal of Materials Science 2011, 46, 6500.

4. Yeyongchaiwat J, Nonthawissarut K, Charojrochkul S, Sukpirom N, Compatibility and conductivity of La2Ni2-xFexO4-d and LaNi0.6Fe0.4O3-d with GDC electrolyte. Advances in Applied Ceramics 2015, 114, 1.

5. Yeyongchaiwat J, Matsumoto H, Ishihara T, Oxidative reforming of propane with oxygen permeating membrane reactor using Pr2Ni0.75Cu0.25Ga0.05O4 perovskite related mixed conductor. Solid State Ionics 2017, 301, 23.

6. Wongsawatgul N, Yeyongchaiwat J, Pornprasertsuk R, Kazunori S, Chaianansutcharit S, Ca and Pr substitution promoted the cell performance in LnSr3Fe3O10-δ cathode for solid oxide fuel cells. Ceramics International 2020, 46, 3082.

ทุนวิจัยที่ได้รับ

1. จินดา ยืนยงชัยวัฒน์. (2547). กระบวนการผลิตแก๊สชีวมวลโดยใช้อากาศจากเศษวัสดุทางการเกษตร. แหล่งเงินทุนจากสำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน (EPPO)

2. จินดา ยืนยงชัยวัฒน์. (2548). การสังเคราะห์วิธีใหม่และลักษณะสมบัติของ LaNi1-xFexO3 ที่ใช้เป็นขั้วแคโทดในเซลล์เชื้อเพลิงชนิดของแข็ง. แหล่งเงินทุนวิจัยจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)

3. จินดา ยืนยงชัยวัฒน์. (2548). การพัฒนาวิธีทดสอบสำหรับการวัดปริมาณเอทานอลในน้ำมันแก๊สโซฮอลจาก บ. ปตทด้วยเทคนิค NIR แหล่งเงินทุนวิจัยจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)

4. จินดา ยืนยงชัยวัฒน์. (2549- 2550). Development of High Temperature Steam Reforming Reactor for Useful Energy Recovery. แหล่งเงินทุนจาก Ministry of Economy, Trade and Industry, Japan.

5. จินดา ยืนยงชัยวัฒน์. (2551-2552). การพัฒนาวัสดุสำหรับขั้วแคโทดในเซลล์เชื้อเพลิงแบบออกไซด์ของแข็งเพื่อเป็นพลังงานทางเลือก. แหล่งเงินทุนจากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)

6. จินดา ยืนยงชัยวัฒน์. (2553-2554). การพัฒนาต้นแบบเซลล์เชื้อเพลิงแบบออกไซด์ของแข็ง.แหล่งเงินทุนจากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)

7. จินดา ยืนยงชัยวัฒน์. (2561). การสร้างนวัตกรรมจากอัตลักษณ์ทางการเกษตรของกลุ่มชาติพันธุ์เพื่อยกระดับเศรษฐกิจของอำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี. แหล่งเงินทุนวิจัยจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)

8. จินดา ยืนยงชัยวัฒน์. (2561). การประยุกต์ใช้เมมเบรนผลิตแก๊สสังเคราะห์และขั้วแอโนดในเซลล์เชื้อเพลิงออกไซด์ของแข็ง ของ Sr2 (Fe,Co) MoO6-d และ Sr2 (Fe,Ni) MoO6-d.แหล่งเงินทุนจากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)

9. จินดา ยืนยงชัยวัฒน์. (2562). การสร้างนวัตกรรมจากอัตลักษณ์ทางการเกษตรของกลุ่มชาติพันธุ์เพื่อยกระดับเศรษฐกิจของอำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรีแหล่งเงินทุนวิจัยจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)

10. จินดา ยืนยงชัยวัฒน์. (2563). โครงการพัฒนาวัสดุดับเบิ้ลเพอรอฟสไกต์และการขึ้นรูปครึ่งเซลล์ของเซลล์เชื้อเพลิงออกไซด์ของแข็งแหล่งเงินทุนสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)

รางวัลที่ได้รับ

ผลงานอื่นๆ

ประสบการณ์การทำงาน

2549 – 2550           นักวิจัยที่มหาวิทยาลัยคิวชู ประเทศญี่ปุ่น

2550-2557              ประธานสาขาวิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา

2552                        นักวิจัยที่ Kaiserslautern University ประเทศเยอรมัน

2554                        นักวิจัยที่มหาวิทยาลัยคิวชู ประเทศญี่ปุ่น

2557                        Visiting Professor ที่มหาวิทยาลัยคิวชู ประเทศญี่ปุ่น

2558                        นักวิจัยที่มหาวิทยาลัยคิวชู ประเทศญี่ปุ่น

2558-ปัจจุบัน           รองผู้อำนวยการสถาบันวิจัยและพัฒนา

มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา