Single View Blog 1
ผศ.ดร.ชัชศรัณย์ จิตคงคา

ผลงาน

ความเชี่ยวชาญ

ภาษาไทย ภาษาศาสตร์ภาษาไทย ภาษาและวรรณคดีไทย วรรณกรรมไทย ภาษาไทยทางธุรกิจ และการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ

ผลงานวิจัย / ผลงานวิชาการ

หนังสือ/ตำรา

1.ชัชศรัณย์  จิตคงคา. (2560). หลักและการใช้ภาษาไทย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ บริษัท สหธรรมิก จำกัด.

2.ชัชศรัณย์  จิตคงคา. (2560). เอกสารประกอบการสอนรายวิชา 2106103 ภาษาศาสตร์เบื้องต้น Introduction to Linguistics. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ บริษัท สหธรรมิก จำกัด.

3.ชัชศรัณย์ จิตคงคา. (2559). บทที่ 3 ทักษะการฟังเพื่อการรับสารอย่างสร้างสรรค์.ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร = Thai for communication. (2559). พิมพ์ครั้งที่ 2 (ฉบับปรับปรุง). กรุงเทพฯ : สาขาวิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา.

 

งานวิจัย

1.ชัชศรัณย์  จิตคงคา. (2564). ความนึกเปรียบเทียบตัวละครในนวนิยายดีเด่นแห่งชาติ. ปริญญานิพนธ์ ศศ.ด. (ภาษาไทย), พะเยา : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยพะเยา.

2.ชัชศรัณย์ จิตคงคา และคณะ. (2557). การศึกษาสภาพและความต้องการในการจัดการเรียนการสอนวิชาศึกษาทั่วไป ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติในมหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา. กรุงเทพฯ: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา.

3.วัชรินทร์ จิตคงคา. (2546). สุนทรียภาพในโวหารรักจากบทละครพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย. สารนิพนธ์ กศ.ม.(ภาษาไทย), กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

4.ชัชศรัณย์ จิตคงคา และคณะ. (2553). โครงการวิจัยและพัฒนาหลักสูตรภาษาและวัฒนธรรมไทยสำหรับคนไทยในต่างประเทศ (ระดับ 3). กรุงเทพฯ: สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษากระทรวงศึกษาธิการ.

5.ชัชศรัณย์ จิตคงคา และคณะ. (2560). แนวปฏิบัติการบริหารทรัพยากรบุคคลเพื่อพัฒนาการจัดการศึกษา ระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา. กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา.

 

บทความวิจัย

2.ชัชศรัณย์ จิตคงคา. (2563). ความนึกเปรียบเทียบตัวละครชายในนวนิยายดีเด่น เรื่อง ฝั่งแสงจันทร์ ของประชาคม ลุนาชัย. วารสารทีทัศน์วัฒนธรรม, 19(1), 133-150.

3.ลินดา  เกณฑ์มา และคณะ. (2558). การศึกษาสภาพ.  วารสารสารสนเทศ Journal of Information,14(1), 69-81.

 

บทความวิชาการ

1.วัชรินทร์ จิตคงคา. (2553). คำซ้ำเนื้อใน. ปัญญาภิวัตน์ วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา, 4, 237-258.

2.วัชรินทร์ จิตคงคา และคณะ. (2553). วัฒนธรรมชาวไทขาว: หมู่บ้านไมโจว เมืองเฮบิน สาธารณรัฐสังคมเวียดนาม. วารสารทีทัศน์วัฒนธรรม,10, 119-148.

3.วัชรินทร์ จิตคงคา. (2553). บ่อเกลือสินเธาว์ภูเขา. วารสารบริบทวัฒนธรรม สำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา, 135-139.

 

บทความวิชาการในสื่อออนไลน์

1.ชัชศรัณย์ จิตคงคา. (กุมภาพันธ์-เมษายน 2564). ศิลปะการใช้ความนึกเปรียบเทียบตัวละครในนวนิยายดีเด่นแห่งชาติ: ด้านกลวิธีการใช้ความนึกเปรียบเทียบแบบอุปมา. บทความทางวิชาการ. จาก http://husoc.bsru.ac.th

2.ชัชศรัณย์ จิตคงคา. (เมษายน-กันยายน 2563). รูปภาษาความนึกเปรียบเทียบตัวละครกับสิ่งมีชีวิตในนวนิยายที่ได้รับรางวัลนวนิยายดีเด่นแห่งชาติ. บทความทางวิชาการ. จาก http://husoc.bsru.ac.th/?page_id=486

3.ชัชศรัณย์ จิตคงคา. (22 พฤษภาคม 2562). ถอดบทเรียนจากการวิพากษ์นวัตกรรมแบบเริ่มเรียนภาษาไทย มูลาบาฮาซา (ป.1 – 6) โครงการยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น. บทความทางวิชาการ. จาก  http://husoc.bsru.ac.th/articleonline22562.html

4.วัชรินทร์ จิตคงคา. (2557). การสร้างความเชื่อมั่นศรัทธาในตนเองนำไปสู่ความสำเร็จทางการเรียน. การจัดการความรู้(Knowledge Management Process). จาก http://human.bsru.ac.th/km/KM_a_chatsarun.pdf

รางวัลที่ได้รับ

  1. พ.ศ.2561  ผู้บริหารดีเด่น ตำแหน่งรองคณบดี ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา

ผลงานอื่นๆ

Certificate

1. เทคนิคการเป็นวิทยากร (Train the Trainer) Mahidol University Extension : MUx , Department of Education, Faculty of Social Sciences and Humanities,  June 2021.

2. พื้นฐานของประสาทวิทยาศาสตร์ (Foundation of Neuroscience) Mahidol University Extension : MUx , Institute of Molecular Biosciences, Mahidol University, June 2021.

3.การออกแบบการเรียนการสอนสำหรับบทเรียนออนไลน์ (Instructional Design for Online Learning), Mahidol University Extension : MUx ,  งานเทคโนโลยีการศึกษา กองบริหารการศึกษา, June 2021.