-
- HOME
- BSRU
- Check Scholar
- ติดต่อเรา WooCommerce not Found
- Newsletter
ความเชี่ยวชาญ
1. การดำเนินโครงการยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนยั่งยืนสู่แพลตฟอร์มออนไลน์ “บูรณาการองค์ความรู้วิทยาการจัดการยกระดับสินค้าชุมชน จังหวัดสมุทรสาครสู่แพลตฟอร์มออนไลน์
2. การจัดทำโครงการยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น คณะวิทยาการจัดการ
3. การจัดทำโครงการบริการวิชาการเพื่อการยกระดับการพัฒนาผลิตภัณฑ์ OTOP
4. ผู้เชี่ยวชาญ/ที่ปรึกษาโครงการวิจัย วิทยานิพนธ์ ภาคนิพนธ์ และสารนิพนธ์ ระดับปริญญาตรี และปริญญาโท ของนักศึกษาสาขาวิชาบริหารธุรกิจ สาขาวิชายุทธศาสตร์การพัฒนา และสังคมศาสตร์เพื่อการพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
5. หัวหน้าโครงการวิจัยที่ได้รับทุนจากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช)
6. หัวหน้าโครงการวิจัยที่ได้รับทุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)
7. หัวหน้าโครงการวิจัยที่ได้รับทุนจากสำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา (สกอ.)
8. หัวหน้าโครงการวิจัยที่ได้รับทุนจากทุนภายในของมหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
9. หัวหน้าโครงการบริการวิชาการที่ได้รับทุนจากภายนอก เช่น งบประมาณแผ่นดินประจำปี กรมทรัพย์สินทางปัญญา กระทรวงพาณิชย์ และทุนภายในมหาวิทยาลัยฯ
10. ที่ปรึกษาโครงการวิจัยที่ได้รับทุนจากภายนอก เช่น สำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส คนพิการและ ผู้สูงอายุ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
11. การสอนในกลุ่มวิชา “การบริหารทรัพยากรมนุษย์” เช่น การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และการฝึกอบรม การวางแผนทรัพยากรมนุษย์เชิงกลยุทธ์ การสรรหาและบรรจุ การบริหารค่าตอบแทน การประเมินผลการปฏิบัติงาน สัมมนาทางการจัดการทรัพยากรมนุษย์
12. การสอนในกลุ่มวิชา “การจัดการธุรกิจ" คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา เช่น การวิจัยทางธุรกิจ องค์การและการจัดการสมัยใหม่ การจัดการสมัยใหม่และภาวะผู้นำ
เป็นวิทยากรในหัวข้อต่างๆ ให้กับองค์กรภาคธุรกิจ องค์กรภาครัฐ และองค์กรภายในฯ
ผลงานวิจัย / ผลงานวิชาการ
บทความ/วิจัย/วิชาการ
วัศยา หวังพลายเจริญสุข, อาภา วรรณฉวี, ธัชพงศ์ เศรษฐบุตร, เดชา พนาวรกุล, เกษรา โพธิ์เย็น, ณัฐมน ตั้งพานทอง, กมลวรรณ ทองฤทธิ์, ไซนิล สมบูรณ์. (2567). พฤติกรรมการบริโภคของผู้ที่สนใจซื้อข้าวเกรียบบรรจุห่อของวิสาหกิจชุมชนบ้านเห็ดขวัญวัลย์ฟาร์ม. Maejo Business Review (MBR) มหาวิทยาลัยแม่โจ้. 6(2), 1-20.
อาภา วรรณฉวี และคณะ. (2548). การสำรวจข้อมูลการนำทรัพย์สินทางปัญญาไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2548. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา. (แหล่งทุนวิจัย: กรมทรัพย์สินทางปัญญา กระทรวงพาณิชย์ พ.ศ. 2548)
อาภา วรรณฉวี และคณะ. (2549). การจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมอย่างบูรณาการเพื่อรองรับการพัฒนาวิสาหกิจเกษตรปลอดสารพิษ : กรณีศึกษา ชุมชนหนองกางเขน อำเภอบางใหญ่ จังหวัดนนทบุรี. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา. (แหล่งทุนวิจัย: สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา พ.ศ. 2549)
อาภา วรรณฉวี และคณะ. (2550). การสำรวจบริบทผู้ประกอบการขนมไทยตลาดน้ำอัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา.
อาภา วรรณฉวี และคณะ. (2551). การพัฒนาผู้ประกอบการตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา. (แหล่งทุนวิจัย: สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ พ.ศ. 2551)
อาภา วรรณฉวี และกัญญา อินสอน. (2552). การพัฒนาคุณภาพเครื่องดื่มไทยสำหรับผู้ประกอบการตลาดน้ำอัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา. (แหล่งทุนวิจัย: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย พ.ศ. 2552)
อาภา วรรณฉวี และคณะ. (2552). ความต้องการในการพัฒนาของผู้ประกอบการ อำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา. (แหล่งทุนวิจัย: กองทุนสนับสนุนการวิจัย มรภ.บ้านสมเด็จเจ้าพระยา พ.ศ. 2552)
อาภา วรรณฉวี และคณะ. (2554). การพัฒนาผู้ประกอบการนักวิจัยตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา. (แหล่งทุนวิจัย: สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553)
อาภา วรรณฉวี. (2557). การพัฒนาชุมชนแห่งการเรียนรู้: กรณีศึกษาเกษตรกรจังหวัดสมุทรสงครามซึ่งขอใช้ตราสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา. (แหล่งทุนวิจัย: กรมทรัพย์สินทางปัญญา กระทรวงพาณิชย์)
อาภา วรรณฉวี. (2561). อัตลักษณ์ของนักศึกษาสาขาวิชาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา.
อาภา วรรณฉวี. (2555). ประสบการณ์มหาวิทยาลัยไทยสู่อาเซียน. เอกสารประกอบการประชุมในงาน “การนำเสนอผลงานวิจัยแห่งชาติ 2555” (Thailand Research Expo 2012), 28 สิงหาคม 2555, Centara Grand Hotel, Central World.
Apa Wanchavee. (2003). Contemporary Trends in Organization Design. Thai Journal of Public Administration, Volume 1(Number 2) - Public Administration.
Apa Wanchavee. (2012). Strategies for Sustainable Local People Participation: A Case Study of Village Health Volunteers Participation in Thailand. Proceeding of “International Seminar on Malaysian-Thai Studies” (ISMATS 2012), 7-8 May 2012, Universiti Utara Malaysia.
อาภา วรรณฉวี. (2561). การพัฒนาระบบควบคุมภายในสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ จังหวัดสมุทรสงคราม. The 2nd International Multiconference of Management Science 2018 (IMMS 2018), 16 July 2018, Bansomdejchaopraya Rajabhat University, Bangkok, Thailand.
อาภา วรรณฉวี. (2562). อัตลักษณ์ของนักศึกษาสาขาวิชาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา. The 3rd International Multiconference of Management Science 2019 (IMMS 2019), 5 July, 2019, Bansomdejchaopraya Rajabhat University, Bangkok, Thailand.
อาภา วรรณฉวี พิมพ์พิไล ไทพิทักษ์ นเรศ นิภากรพันธ์ อารยา แสงมหาชัย ตุลยราศรี ประเทพ มนัสวี พัวตระกูล ธีร์วรา บวชชัยภูมิ และพรรณา ศรสงคราม. (2563). การพัฒนาผลิตภัณฑ์จังหวัดสมุทรสาคร: หมี่กรอบช่างสำรวจ 26. The 4th International Multiconference of Management Science 2019 (IMMS 2020), 30 July, 2020, Bansomdejchaopraya Rajabhat University, Bangkok, Thailand.
อาภา วรรณฉวี และพิมพ์พิไล ไทพิทักษ์. (2563). การออกแบบตราสินค้าหมี่กรอบช่างสำรวจ 26 จังหวัดสมุทรสาคร. The 4th International Multiconference of Management Science 2019 (IMMS2020), 30 July, 2020, Bansomdejchaopraya Rajabhat University, Bangkok, Thailand.
อาภา วรรณฉวี ณัฐมน ตั้งพานทอง เดชา พนาวรกุล และธัชพงศ์ เศรษฐบุตร. (2564). การรับรู้คุณค่าที่ส่งผลต่อความตั้งใจซื้อผลิตภัณฑ์เห็ดแปรรูป. The 5th International Multiconference of Management Science 2021 (IMMS2021), 29 July, 2021, Bansomdejchaopraya Rajabhat University, Bangkok, Thailand.
อาภา วรรณฉวี. (2564). การพัฒนาผลิตภัณฑ์ท้องถิ่นโดยบูรณาการความรู้และการจัดการแบบมีส่วนร่วมของคณาจารย์ นักศึกษา ชุมชน และองค์กรภาคีเครือข่าย. วารสารศรีสมเด็จ. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา.
อาภา วรรณฉวี และคณะ. (2565). การจัดตั้งกลุ่มวิสาหกิจชุมชนชัยมงคลพัฒนา ตำบลชัยมงคล อำเภอเมืองสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาคร. The 6th International Multiconference of Management Science 2022 (IMMS2022), 21 July, 2022, Bansomdejchaopraya Rajabhat University, Bangkok, Thailand.
อาภา วรรณฉวี ธัชพงศ์ เศรษฐบุตร เดชา พนาวรกุล ถาวัลย์ สายสิทธิ์ ณัฐมน ตั้งพานทอง กมลวรรณ ทองฤทธิ์ และวัศยา หวังพลายเจริญสุข. (2565). ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนผสมทางการตลาดกับการตัดสินใจซื้อของผู้บริโภคที่สนใจซื้อลูกชิ้นเห็ดอกไก่ กรณีศึกษา วิสาหกิจชุมชนบ้านเห็ดขวัญวัลย์ฟาร์ม. The 6th International Multiconference of Management Science 2022 (IMMS2022), 21 July, 2022, Bansomdejchaopraya Rajabhat University, Bangkok, Thailand.
อาภา วรรณฉวี ธัชพงศ์ เศรษฐบุตร เดชา พนาวรกุล ถาวัลย์ สายสิทธิ์ ณัฐมน ตั้งพานทอง กมลวรรณ ทองฤทธิ์ และวัศยา หวังพลายเจริญสุข. (2566).รูปแบบการบริหารจัดการองค์กรของวิสาหกิจชุมชนที่ผลิตสินค้าโอทอป กรณีศึกษา วิสาหกิจชุมชนบ้านเห็ดขวัญวัลย์ฟาร์ม ตำบลท่าเสา อำเภอกระทุ่มแบน จังหวัดสมุทรสาคร". ในการประชุมวิชาการ The 7th International Multiconference of Management Science 2023 (IMMS2023) Promoting Competitiveness, Innovation, and The Sustainable Development Goals (SDGs), 27 July, 2023. Bansomdejchaopraya Rajabhat University, Bangkok, Thailand.
วัศยา หวังพลายเจริญสุข, อาภา วรรณฉวี, ธัชพงศ์ เศรษฐบุตร, เดชา พนาวรกุล, เกษรา โพธิ์เย็น, ณัฐมน ตั้งพานทอง, กมลวรรณ ทองฤทธิ์. (2566). พฤติกรรมการบริโภคของผู้ที่สนใจซื้อลูกชิ้นเห็ดอกไก่ (ผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ) ในกรุงเทพมหานคร. วารสารสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา Volume 8, Issue 1, 2023, pp. 35-49
รางวัลที่ได้รับ
ผลงานอื่นๆ
หัวข้อที่เคยเป็นวิทยากร:
1. “การเขียนรายงานและการนำเสนอที่มีประสิทธิภาพ” ให้กับ บริษัท การจัดการธุรกิจ จำกัด โดยบรรยายให้กับ บริษัท บ้านปู จำกัด (มหาชน) กรุงเทพฯ
2. “การเขียนรายงานเชิงวิเคราะห์” ให้กับ บริษัท การจัดการธุรกิจ จำกัด โดยบรรยายให้กับ บริษัท บ้านปู จำกัด (มหาชน) จังหวัด ลำปาง
3. วิทยากรบรรยายและดำเนินการอภิปรายเรื่อง “การบริหารยุคโลกาภิวัฒน์” ให้กับนักศึกษาโปรแกรมวิชาบริหารธุรกิจ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
4. “การเขียนรายงานเชิงวิเคราะห์และการนำเสนอ” ให้กับ บริษัท อีซูซุ มอเตอร์ (ประเทศไทย) จำกัด
5. “การเสริมสร้างประสิทธิภาพงานธุรการ” ให้กับศูนย์พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ โดยบรรยายให้กับ องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ (ขสมก.)
6. “ทักษะและเทคนิคการเก็บข้อมูลวิจัย” “การอบรมนักวิจัยรุ่นใหม่” ให้กับตัวแทนผู้ทำงานด้านเยาวชนไทย จากทุกภูมิภาคของประเทศ
7. “การจัดทำสารนิพนธ์” ให้กับให้กับคณาจารย์จากทุกคณะ และนักศึกษาโปรแกรมวิชาบริหารธุรกิจ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
8. วิทยากรบรรยายและดำเนินการอภิปรายเรื่อง “เทคนิคการบริหารจัดการสมัยใหม่” ให้กับนักศึกษาโปรแกรมวิชาบริหารธุรกิจ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
9. “การนำ TRENDS Model มาใช้ในการทำวิจัย” ให้กับคณาจารย์คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
10. “การประเมินนโยบายและแผนการบริหารการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์” ให้กับนักศึกษาระดับปริญญาโท สาขาสังคมศาสตร์เพื่อการพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
11. “การบริหารทรัพยากรมนุษย์เชิงกลยุทธ์” ให้กับนักศึกษาระดับปริญญาโท สาขาการบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
12. “การจัดการทรัพยากรมนุษย์และสิ่งแวดล้อม” ให้กับนักศึกษาระดับปริญญาโท สาขารัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
13. “BSRU & TRENDS Model” ให้กับนักศึกษาระดับปริญญาเอก สาขาการจัดการเทคโนโลยี และสาขาการศึกษาเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
14. “การพัฒนาผู้ประกอบการนักวิจัยเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน” ในงาน Thailand Research Expo 2009 ของ วช. ณ โรงแรมเซ็นทารา Central World
15. “บทบาทของมหาวิทยาลัยกับการพัฒนาท้องถิ่น” ให้กับอาจารย์พิเศษ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
16. “มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา” ในการประชุมองค์กรในพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. 2547 ประกอบด้วย สภามหาวิทยาลัย สภาวิชาการ สภาคณาจารย์และข้าราชการ และกรรมการส่งเสริมกิจการมหาวิทยาลัย
17. “การวิจัยเพื่อพัฒนาสินค้าและบริการของชุมชนด้วยความคิดสร้างสรรค์” ในงาน Thailand Research Expo 2010 ของ วช. ณ โรงแรมเซ็นทารา Central World
18. “การนำงานวิจัยสู่การปฏิบัติด้วย TRENDS Model: แนวทางการเรียนรู้สำหรับนิสิตมหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา” ให้กับอาจารย์แนะแนวของสถาบันการศึกษาระดับมัธยมปลาย
19. เป็นผู้ดำเนินรายการสำหรับ “การรับฟังความคิดเห็นของประชาชนต่อการดำเนินงานตามแผนปรับปรุงการให้บริการของสำนักงานบริหารกองทุนเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน” โดยสถาบันที่ปรึกษาเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในราชการ ณ โรงแรมมารวย การ์เด้น กรุงเทพฯ
20. วิทยากรบรรยายเรื่อง “การวางแผนทรัพยากรมนุษย์เชิงกลยุทธ์” ให้กับพนักงานในระดับบริหารของบริษัท วัน เทียรี่ จำกัด ณ สำนักงานบริหารกองทุนเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน
21. บรรยายเรื่อง แนวทางการดำเนินงาน "โครงการยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น" ให้กับคณาจารย์คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2562-2566
22. วิทยากรการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง "การพัฒนาผลิตภัณฑ์ OTOP เพื่อการคัดสรรสุดยอดหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ไทย" ให้กับคณาจารย์คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา พ.ศ. 2565
23. วิทยากรการกระบวนการ เรื่อง "การพัฒนาอัตลักษณ์ผลิตภัณฑ์ OTOP เพื่อการคัดสรรสุดยอดหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ไทย" ให้กับคณาจารย์ และ สมาชิกวิสาหกิจชุมชน พ.ศ. 2565
24. วิทยากรการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง "การพัฒนาฉลากสินค้าและฉลากโภชนาการ" ให้กับสมาชิกวิสาหกิจชุมชน จ.สมุทรสาคร
25. วิทยากรการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง "การพัฒนาผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์สินค้า OTOP" ให้กับสมาชิกวิสาหกิจชุมชน จ.สมุทรสาคร