Single View Blog 1
ผศ.ดร.อัควิทย์ เรืองรอง

ผลงาน

ความเชี่ยวชาญ

  • วรรณกรรมวิจารณ์
  • การวิพากษ์การแสดง
  • คติชนวิทยา
  • ภูมิปัญญาไทยกับพัฒนศึกษา
  • สุนทรียภาพในภาษาและวรรณกรรมไทย
  • การศึกษากับการพัฒนา
  • มนุษยศาสตร์กับพัฒนศึกษา

ผลงานวิจัย / ผลงานวิชาการ

พ.ศ.2539

  1. อัควิทย์  เรืองรอง. (2539). การศึกษาเชิงวิเคราะห์วรรณกรรมเรื่องเเก้วหน้าม้า. วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาภาษาไทย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

 

พ.ศ. 2541

  1. อัควิทย์   เรืองรอง. “การปรับเปลี่ยนวรรณกรรมเรื่องแก้วหน้าม้าให้เป็นวรรณกรรมสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น” ใน วารสารภาษาและวรรณคดีไทย,15, 2541, หน้า 185 -200.
  2. อัควิทย์   เรืองรอง. “ครรลองคุณธรรมในวรรณกรรมเรื่อง “เปาบุ้นจิ้น” ในวารสารมนุษยศาสตร์ปริทรรศน์. 20 , 2541, หน้า 23 – 26.

 

พ.ศ. 2543

  1. อัควิทย์   เรืองรอง. “คติความเชื่อของนักศึกษาที่มีต่อ “เจ้าพ่อ” ในวารสารภาษาและวัฒนธรรมไทย, 19(1), 2543, หน้า 33 – 49.
  2. อัควิทย์   เรืองรอง. “การใช้คำเรียกและความเปรียบเกี่ยวกับกษัตริย์ใน ‘ยวนพ่ายโคลงดั้น’ ใน วารสารอักษรศาสตร์ , 29 (1) , 2543, หน้า 42 – 60.

 

พ.ศ. 2544

  1. อัควิทย์   เรืองรอง.  “วรรณกรรม “นิราศ” ที่ปรากฏในหนังสือเรียนภาษาไทยระดับมัธยมศึกษา” ในวารสารมนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ , 18 (3) , 2544 , หน้า 13 -33.

 

พ.ศ. 2549

  1. อัควิทย์   เรืองรอง. (2549). “เมื่อ ‘หญิง’ ประกาศชัยเหนือ ‘ชาย’ : บทบาทหน้าที่ของวรรณกรรมเรื่อง“แก้วหน้าม้า” ในสังคมไทย” ในพิธีกรรม ตำนาน นิทาน เพลง : บทบาทของคติชนกับสังคมไทย.กรุงเทพมหานคร : โครงการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ  คณะวิทยาศาสตร์  จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,หน้า 57 – 110.

 

พ.ศ. 2550

  1. อัควิทย์   เรืองรอง. “คุณค่าทางวรรณศิลป์ในเสภาขุนช้างขุนแผน” ใน วารสารอักษรศาสตร์, 30 (1), 2550.หน้า 105 – 121.
  2. อัควิทย์   เรืองรอง. “อัตลักษณ์ และบทบาทของลิเกเด็ก  คณะโรงเรียนศรีเอี่ยมอนุสรณ์” ในวารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์  มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา, 1 (1), 2550,  หน้า 145 – 180.

 

พ.ศ. 2552

  1. อัควิทย์  เรืองรอง. การพัฒนามนุษย์เพื่อการพัฒนาสังคมใน “ความเป็นมนุษย์กับการเข้าถึงสิ่งสูงสุด : ความจริง ความดี  ความงาม” ในวารสารสารสนเทศ , 10 (1) , 2552. หน้า 1-6.

 

พ.ศ. 2553

  1. อัควิทย์   เรืองรอง. “แนวพระราชดำริเกี่ยวกับการพัฒนาประเทศจากพระบรมราโชวาทในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช” ในวารสารปัญญาภิวัฒน์ (4) , 2553, หน้า 1 – 24.

 

พ.ศ. 2554

  1. กนกรรณ คงธนชุณหพร สุภัค มหาวรากร และ อัควิทย์ เรืองรอง. “การนำเสนอแนวคิดพุทธศาสนาในนวนิยายของแก้วเก้า” ในวารสารศิลปศาสตร์ , 7(2) , 2554 หน้า 130-148.
  2. นันทนา รอดสำราญ สุภัค มหาวรากร และ อัควิทย์ เรืองรอง. “ปัญหาจริยธรรมช่วงวิกฤตเศรษฐกิจในเรื่องสั้นเข้ารอบสุดท้ายรางวัลซีไรต์” ใน วารสารศิลปศาสตร์ , 5(10) , 2554หน้า 42-52.

 

พ.ศ. 2558

  1. ธนพล เพ็งแก้ว ภาณุพงศ์ อุดมศิลป์ และอัควิทย์ เรืองรอง. “การสืบทอดและการสร้างสรรค์วรรณกรรมเรื่องจันทโครพ” ในการประชุมวิชาการระดับชาติ ภาษาวรรณคดีไทยและการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ : การเรียนรู้และสร้างสรรค์จากสังคมไทยสู่สังคมโลก ภาควิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ , 2558,หน้า 159-168.
  2. ลินดา เกณฑ์มา ชลลดา พงศ์พัฒนโยธิน อัควิทย์ เรืองรอง พนอเนื่อง สุทัศน์ ณ อยุธยา ชัชศรัณย์ จิตคงคาและจตุพล เจริญรื่น. “การศึกษาสภาพและความต้องการในการจัดการเรียนการสอนวิชาศึกษาทั่วไปตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติในมหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา” ใน วารสารสารสนเทศ, 14(1), 2558, หน้า 69-81.
  3. อัควิทย์ เรืองรอง. 2558. “โดยสำคัญ “ปัญญา” ของนารี : ภาพลักษณ์สตรีในวรรณคดีไทยในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นกับปัจจัยเกื้อกูลด้านการศึกษา” ใน วารสารสถาบันวัฒนธรรมและศิลปะปีที่ 17 ฉบับทื่ 1(33) กรกฎาคม-ธันวาคม, หน้า 9-18.

 

พ.ศ. 2560

  1. ธัญญาภรณ์ พลายงาม ชนัย วรรณะลี และอัควิทย์ เรืองรอง. “พิธีกรรมและการแสดงในการขอฝนของวัฒนธรรมอีสาน” ใน วารสารสารสนเทศ, 16(2), 2560, หน้า 99-114.
  2. อัควิทย์ เรืองรอง. “การสืบทอดแนวพระราชดำริ ‘ศาสตร์พระราชา’ เพื่อการพัฒนามนุษย์” ในมิติมนุษยศาสตร์จาก “พระบรมราโชวาท” “พระมหาชนก” และ “ทองแดง” ใน วารสารศิลปศาสตรมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. 13(2), 2560, หน้า 1-34.

 

พ.ศ. 2561

  1. พัชรินทร์  สุวรรณศร ชนัย วรรณะลีและอัควิทย์ เรืองรอง. “กลวิธีการรำของอิเหนาในบทพิลาปรารก ตอน อิเหนาคะนึงถึงจินตะหราวาตี” ใน วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา, 12(2), 2561, หน้า 25-44.
  2. สุดา  เดชพิทักษ์ศิริกุล อัควิทย์ เรืองรอง และนุสรา นามเดช. “การเรียนรู้ของผู้ป่วยผ่านการกระบวนการเรื่องเล่าความเจ็บป่วย” ใน วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา, 12(2), 2561, หน้า 173-193.
  3. อัควิทย์  เรืองรอง. “การประกอบสร้างความหมายเพื่อเชิดชูเกียรติสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) จากการแสดงโขนชุด ‘ท้าวมาลีวราชว่าความ’ ” ใน วารสารทีทัศน์วัฒนธรรม, 17(2),2561, หน้า 123-149.
  4. อัควิทย์  เรืองรอง ณัฐวัตร จันทร์งาม และเสาวลักษณ์ จันทร์ดำ. “ลักษณะเด่นของเนื้อหาจาก ‘เรื่องเล่า’ เร้าอารมณ์สะเทือนใจในเหตุการณ์สวรรคตในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช” ใน วารสารศิลปศาสตร์มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, 14(2), 2561, หน้า 227-248.

 

พ.ศ. 2562

  1. กิติพงษ์ อาธิพรม นิวัฒน์ สุขประเสริฐ และอัควิทย์ เรืองรอง. “จากฟ้อนเจิงสู่ฟ้อนผาง : อัตลักษณ์และลีลาการฟ้อนแบบล้านนาของพ่อครูมานพ ยาระณะ”. ใน วารสารศิลปศาสตร์มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี,15(1), 2562, หน้า 1-27.
  2. ณัฐภา นาฏยนาวิน มนัสวี ศรีราชเลา ยุทธนา อัมระรงค์ และอัควิทย์ เรืองรอง. “ภาพชีวิตของกลุ่มชาติพันธุ์อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี จากการประกอบสร้างลีลาการแสดง”. ใน วารสารทีทัศน์วัฒนธรรม, 18(1), 2562, หน้า 106-131.
  3. ธันธวัช ปิ่นทอง จินตนา สายทองคำ และอัควิทย์ เรืองรอง. “ความแพร่หลายและลักษณะเด่นของละครนอกแบบหลวงเรื่องสังข์ทอง ตอน ‘เลือกคู่หาปลา’ ของกรมศิลปากร”. วารสารมนุษยศาสตร์ฉบับบัณฑิตศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง, 8 (2), 2562. หน้า 1-22.
  4. ปฐิมา  บุญปก หทัยรัตน์ ทับพร และอัควิทย์ เรืองรอง. "การสืบทอดภูมิปัญญาเรื่องเล่าท้องถิ่นเพื่อพัฒนาวิถีชีวิตชุมชนแอ่งสกลนคร". ใน วารสารมนุษยศาสตร์ปริทรรศน์, 41(1), 2562, หน้า 7-15.
  5. ระพีพรรณ ภู่ผกาพันธ์พงษ์ ตัณฑรัตน์. อัควิทย์ เรืองรอง เอื้อมพร เธียรหิรัญ และสมบัติ เธียรหิรัญ. “การจัดการความรู้ด้านการจัดการเทคโนโลยีในการเขียนจิตรกรรมฝาผนังไทยประเพณี”. ใน วารสารสารสนเทศ, 18(1(ม 2562. หน้า 55-71.
  6. ศรัณยพงศ์ โชติวรรณ์ หทัยรัตน์ ทับพร และอัควิทย์ เรืองรอง. “การส่งเสริมการปลูกฝังคุณธรรมด้านความซื่อสัตย์ : การวิเคราะห์คุณค่าวรรณกรรม”. ใน วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยปทุมธานี,11(2), 2562. หน้า 112-129.
  7. ศรินประภา ภัทรจินดา ชนัย วรรณะลี และอัควิทย์ เรืองรอง. “กระบวนการสร้างสรรค์รูปแบบการฟ้อนนกกิงกะหล่า”. ในวารสารศิลปศาสตร์มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, 15(2), 2562, หน้า 202-224.
  8. อัควิทย์ เรืองรอง. “กลวิธีการอ้างถึงในรวมเรื่องสั้นอสรพิษ และเรื่องอื่น ๆ ของแดนอรัญ แสงทอง”. ในวารสารทีทัศน์วัฒนธรรม, 18(2), 2562. หน้า 79-97.

 

พ.ศ. 2563

  1. พรพรรณ สวัสดิสิงห์ หทัยรัตน์ ทับพร และอัควิทย์ เรืองรอง. “วิถีไทยเพื่อพัฒนา : ภาพสะท้อนจากพระราชนิพนธ์ในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี” ใน วารสารเซนต์จอห์น,23(32), 2563. หน้า 112-129.
  2. สุดา เดชพิทักษ์ศิริกุล กรรณิการ์ สัจกุล และอัควิทย์ เรืองรอง. “เรื่องเล่ากับการพัฒนาสุขภาวะ” ใน วารสารครุศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 48(3), 2563. หน้า 370-388.
  3. Yinfel Chen ภาณุพงศ์ อุดมศิลป์ และอัควิทย์ เรืองรอง. “สภาพการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนภาษาไทยของนักศึกษาชาวจีน สาขาวิชาภาษาไทย ระดับปริญญาตรีในมหาวิทยาลัย ณ มณฑลยูนนาน สาธารณรัฐประชาชนจีน” ใน วารสารสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา, 5(1), 2563. หน้า 95-109.
  4. อมร เอี่ยมตาล กรรณิการ์ สัจกุล และอัควิทย์ เรืองรอง. “การใช้การศึกษาเพื่อการพัฒนามนุษย์ : คุณค่าของการพัฒนาผู้หญิงในบทเพลงสุนทราภรณ์” ใน วารสารครุศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 48(1),2563. หน้า 342-357.
  5. อัควิทย์ เรืองรอง. “กลวิธีการเร้าอารมณ์สะเทือนใจในเหตุการณ์สวรรคตจากเรื่องเล่าในพระบาทสมเด็จชนกาธิเบศรมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนารถบพิตร” ใน วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 39(3), 2563 หน้า 106-116.

 

พ.ศ. 2564

  1. ธวรรณเทพ  มงคลศิริ  และอัควิทย์   เรืองรอง. เรื่องเล่าพระเจ้าตากสินวัดอินทารามวรวิหาร : การผลิตซ้ำและการสร้างความหมายทางสังคม. ในวารสารทีทัศน์วัฒนธรรม, 20(1), 2564. หน้า 169-193.
  2. ปรมัตถ์  บุณยศิริ ศุภชัย  จันทร์สุวรรณ  และอัควิทย์  เรืองรอง. ลักษณะร่วมและเฉพาะของกระบวนท่ารำตรวจพลตัวพระในการแสดงโขนและละครใน. ในวารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์, 8 (1),2564. หน้า 132-147.
  3. อัควิทย์  เรืองรอง. กลวิธีการใช้ภาษาเพื่อสื่อสารความกลัวในการ์ตูนแนวระทึกขวัญจากแอปพลิเคชั่นเว็บตูน. ในวารสารสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา, 6 (1), 2564. หน้า 159-172
  4. ณัฐภา นาฏยนาวิน  มนัสวี ศรีราชเลา  ยุทธนา อัมระรงค์  อัควิทย์ เรืองรอง เเละกุลสิรินทร์ อภิรัตน์วรเดช. การสร้างสรรค์การเเสดงเพื่อส่งเสริมอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมของอำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี. ในวารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร, 41 (4), 2564. หน้า 90-100.
  5. พิชิต ทองชิน  สุขสันติ เเวงวรรณ  เเละอัควิทย์ เรืองรอง. (2564). การพัฒนาการเเละการสืบทอดการเเสดงฟ้อนตังหวาย. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม). หน้า 125-139.
  6. ธันธวัช ปิ่นทอง  จินตนา สายทองคำ  เเละอัควิทย์ เรืองรอง. (2564). บทบาทนางรจนา: นางเอกละครนอกเเบบหลวงเรื่องสังข์ทอง. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนครพนม ปีที่ 11 ฉบับที่ 3 (กันยายน-ธันวาคม). หน้า 194-210.
  7. ฉัตรชัย อภิวันท์สนอง  หทัยรัตน์ ทับพร  เเละอัควิทย์ เรืองรอง. (2564). การศึกษาบทบาทหน้าที่ของบทเพลงสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา. ปีที่ 15 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม). หน้า 64-91.

 

พ.ศ.2565

  1. ญาณวุฒิ ไตรสุวรรณ  ธีรภัทธ์ ทองนิ่ม  เเละอัควิทย์ เรืองรอง. (2565). ลงสรงโทนท้าวกรุงพานจากบทพระราชนิพนธ์สู่การเเสดง. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี ปีที่ 13 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน). หน้า 112-126.
  2. พิสมัย ชำนิบท  ชนัย วรรณะลี  เเละอัควิทย์ เรืองรอง. (2565). บทบาทเเละกระบวนท่ารำของเม้ยมะนิกในละครพันทางเรื่องราชาธิราช. วารสารวิชาการสถาบันวิทยาการจัดการเเห่งเเปซิฟิก สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน). หน้า 175-188.
  3. สิริน ฉกามานนท์  หทัยรัตน์ ทับพร  เเละอัควิทย์ เรืองรอง. (2565). เเนวทางการสืบสานคุณค่าเเละอัตลักษณ์ร่วมทางวัฒนธรรม: น้ำพริกเเห่งอุษาคเนย์. วารสารกระเเสวัฒนธรรม ปีที่ 23 ฉบับที่ 43 (มกราคม-มิถุนายน). มหาวิทยาลัยสยาม. หน้า 34-45.
  4. พรรวินท์ ชุนเกษา  นิวัฒน์ สุขประเสริฐ  เเละอัควิทย์ เรืองรอง. (2565). กระบวนท่าหนุมานรบมัจฉานุในบทร้องร่ายจากพระราชนิพนธ์เรื่องรามเกียรติ์ในรัชกาลที่ 1. วารสารมนุษยศาสตร์เเละสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ปีที่ 16 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม). หน้า 1-27.
  5. ศิริรัตน์ ไชยศิวามงคล  ชนัย วรรณะลี  เเละอัควิทย์ เรืองรอง. (2565). เเม่สะเอง: ความสัมพันธ์ของพิธีกรรม ความเชื่อ เเละนาฏกรรม. วารสารสถาบันวิจัยพิมลธรรม มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ปีที่ 9 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม). หน้า 191-205.
  6. ธวรรณเทพ มงคลศิริ  อภิวัฒน์ สุธรรมดี  เเละอัควิทย์ เรืองรอง. (2565). เรื่องเล่ากับการสร้างสรรค์พิธีกรรมบูชาที่เกี่ยวกับสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช: กรณีศึกษาวัดหงส์รัตนารามราชวรวิหาร เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพมหานคร. วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปีที่ 17 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม). หน้า 97-113.
  7. กระจ่างศรี ศรีกระจ่าง ผสมทรัพย์  หทัยรัตน์ ทับพร  เเละอัควิทย์ เรืองรอง. (2565). "นวดไทย" คุณค่ามรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมเเพทย์เเผนไทย. วารสารเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มทร.พระนคร ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม). หน้า 75-84.
  8. อัควิทย์ เรืองรอง  เเละภรทิพย์ พลอาชีพ. (2565). การใช้สัญญะเพื่อสื่อเนื้อหาการให้กำลังใจในเฟซบุ๊กเเฟนเพจ "คิ้วต่ำ". วารสารสถาบันวิจัยเเละพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม). หน้า 224-243.
  9. ฉัตรชัย อภิวันท์สนอง  หทัยรัตน์ ทับพร  เเละอัควิทย์ เรืองรอง. (2565). คุณค่าของบทเพลงสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณในพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร. วารสารศรีนครินทรวิโรฒวิจัยเเละพัฒนา (สาขามนุษยศาสตร์เเละสังคมศาสตร์) ปีที่ 14 ฉบับที่ 28 (กรกฎาคม-ธันวาคม). หน้า 1-13.

 

พ.ศ.2566

  1. ญาณวุฒิ  ดวงดารา ศุภชัย  จันทร์สุวรรณ์ เเละอัควิทย์  เรืองรอง. (2566). การแสดงบทบาทข้ามเพศ: แนวคิดนอกกรอบเพศภาวะและปัจจัยหลักที่ส่งผลต่อการข้ามเพศ. วารสารมนุษยศาสตร์เเละสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ปีที่ 17 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม). หน้า 97-122.
  2. สุชาดา  ศรีสุระ ชนัย  วรรณะลี เเละอัควิทย์  เรืองรอง. (2566). กระบวนท่ารำเพลงหน้าพาทย์สาธุการในพระราชพิธีบวงสรวงพระสยามเทวาธิราช. วารสารทีทัศน์วัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา. ปีที่ 22 ฉบับที่ 1 (กรกฎาคม-ธันวาคม). หน้า 39-61.
  3. นฤมล  ล้อมทอง สุขสันติ  เเวงวรรณ เเละอัควิทย์  เรืองรอง. (2566). รูปเเบบเเละเนื้อหาบทพระราชนิพนธ์เรื่องรามเกียรติ์ ชุดจองถนน ในพระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราวุธพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว. วารสารมนุษยศาสตร์เเละสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ปีที่ 17 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม). หน้า 305-326.

 

  • กรรมการควบคุมวิทยานิพนธ์   

วิทยานิพนธ์ระดับปริญญาโท (ที่ปรึกษาร่วม)

  1. กนกวรรณ  คงธนชุณหพร. (2533). แนวคิดพุทธศาสนาในนวนิยายของแก้วเก้า.  ภาควิชาภาษาไทย  คณะมนุษยศาสตร์  มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
  2. นันทนา  รอดสำราญ. (2533). ปัญหาจริยธรรมช่วงวิกฤตเศรษฐกิจในเรื่องสั้นเข้ารอบสุดท้ายรางวัลซีไรต์.  ภาควิชาภาษาไทย  คณะมนุษยศาสตร์  มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
  3. วิโรจน์  กองแก้ว. (2556). สัมพันธสารพระราชดำรัสในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช  เรื่อง “เศรษฐกิจพอพียง”.  ภาควิชาภาษาไทย  คณะมนุษยศาสตร์  มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
  4. ธนพล  เพ็งแก้ว. (2558). การสืบทอดและการสร้างสรรค์วรรณกรรมเรื่องจันทโครพ.  ภาควิชาภาษาไทย  คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
  5. ธัญญภรณ์  พลายงาม. (2560). พิธีกรรมและการแสดงในการขอฝนของวัฒนธรรมอีสาน. สาขาวิชานาฏศิลป์ไทย. สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์.
  6. พัชรินทร์  สุวรรณศร. (2561). กลวิธีการรำของอิเหนาในบทพิลาปร่ำรัก ตอนอิเหนาคะนึงถึงจิตะหราวาตี.  สาขาวิชานาฏศิลป์ไทย. สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์.
  7. กิติพงษ์  อาธิพรม. (2562). ความสัมพันธ์ของการฟ้อนเจิงและฟ้อนผางที่มีต่อแนวคิดและรูปแบบการฟ้อนผางของ  วิทยาลัยนาฏศิลป์เชียงใหม่. สาขาวิชานาฏศิลป์ไทย  สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์.
  8. ธันธวัช  ปิ่นทอง. (2562). กลวิธีการแสดงบทบาทนางเอกละครนอกแบบหลวง. สาขาวิชานาฏศิลป์ไทย สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์.
  9. ศิรินประภา  ภัทรจินดา. (2562). กระบวนการสร้างสรรค์รูปแบบการฟ้อนรำนกกิงกะล่า. สาขาวิชานาฏศิลป์ไทย  สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์.
  10. ปรมัตถ์  บุณยศิริ. (2564). ลักษณะร่วมและเฉพาะของกระบวนท่ารำตรวจพลตัวพระในการแสดงโขนและละครใน.  สาขาวิชานาฏศิลป์ สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์.
  11. พิศมัย  ชำนิบท. (2564). บทบาทเเละกระบวนท่ารำของนางเม้ยมะนิกในละครพันทางเรื่องราชาธิราช. สาขาวิชานาฏศิลป์ สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์.
  12. พิชิต  ทองชิน. (2564). ฟ้อนตังหวาย: พัฒนาการเเละการสืบทอดการเเสดงพื้นบ้านอีสาน. สาขาวิชานาฏศิลป์ สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์.
  13. ญาณวุฒิ  ไตรสุวรรณ. (2564). กระบวนท่ารำลงสรงท้าวกรุงพาณในการเเสดงละครในการเเสดงละครในเรื่องอุณรุด. สาขาวิชานาฏศิลป์ สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์.

 

วิทยานิพนธ์ระดับปริญญาเอก (ที่ปรึกษาหลัก)

  1. ระพีพรรณ  ภู่ผกาพันธ์พงษ์ ตัณฑรัตน์. (2562). “การจัดการความรู้ด้านการจัดการเทคโนโลยีในการเขียนจิตรกรรมฝาผนังไทยประเพณี”. สาขาวิชาการจัดการนวัตกรรมและเทคโนโลยี. มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา.

 

วิทยานิพนธ์ระดับปริญญาเอก (ที่ปรึกษาร่วม)

  1. ประจวบ  ทองศรี. (2555). การวิเคราะห์แนวพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวในการส่งเสริมการศึกษาเพื่อพัฒนาประเทศ. สาขาวิชาพัฒนศึกษา  คณะครุศาสตร์  จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
  2. อัธยานันท์  จิตรโรจนรักษ์. (2558). แนวทางการสืบสานคุณค่าของอัตลักษณ์สถาปัตยกรรมไทย. สาขาวิชาพัฒนศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
  3. อมร  เอี่ยมตาล. (2560). การนำเสนอแนวทางการสืบทอดอุดมการณ์เพื่อพัฒนามนุษย์จากเพลงไทยสากลเชิงประวัติศาสตร์สังคม: กรณีศึกษาบทร้องเพลงของวงดนตรีสุนทราภรณ์. สาขาวิชาพัฒนศึกษา  คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
  4. สุดา  เดชพิทักษ์ศิริกุล. (2560). การพัฒนาสุขภาวะผู้ป่วยโรคเรื้อรัง: การศึกษาตามแนวเรื่องเล่าบำบัด. สาขาวิชาพัฒนศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
  5. ปฐิมา  บุญปก. (2561). การสืบทอดภูมิปัญญาเรื่องเล่าท้องถิ่นเพื่อพัฒนาวิถีชีวิตชุมชนแอ่งสกลนคร. สาขาวิชาพัฒนศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
  6. พรพรรณ  สวัสดิสิงห์. (2561). การสืบทอดวิถีไทยเพื่อการพัฒนามนุษย์ตามแนวพระราชดำริในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี. สาขาวิชาพัฒนศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
  7. ศรัณยพงศ์  โชติวรรณ์. (2562). “การส่งเสริมการปลูกฝังคุณธรรมด้านความซื่อสัตย์: การวิเคราะห์คุณค่าวรรณกรรม”. สาขาวิชาพัฒนศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
  8. สิริน  ฉกามานนท์. (2564). "การสืบสานคุณค่าเเละอัตลักษณ์ร่วมทางวัฒนธรรม: น้ำพริกเเห่งอุษาคเนย์". สาขาวิชาพัฒนศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
  9. ฉัตรชัย  อภิวันท์สนอง. (2564). เเนวทางการสืบทอดคุณค่าวรรณศิลป์สำนึกเพื่อพัฒนามนุษย์: บทเพลงสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช. สาขาวิชาพัฒนศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

 

หนังสือ

  1. กรรณิการ์  สัจกุล, อัควิทย์  เรืองรอง,  พ.อ.หญิง  อาทิชา  วงศ์สุวรรณ, สาระ  มีผลกิจ, มณลดา  ศุขอร่าม เเละรัชดา  โชตพาณิช. (บก.). (2555). ต้นธารการศึกษา  สว่างวัฒนาคุณพิลาส. กรุงเทพมหานคร : สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.).
  2. อัควิทย์  เรืองรอง. (2549). "เมื่อ 'หญิง' ประกาศชัยเหนือ 'ชาย' : บทบาทหน้าที่ของวรรณกรรมเรื่อง "เเก้วหน้าม้า" ในสังคมไทย". พิธีกรรม ตำนาน นิทาน เพลง : บทบาทของคติชนกับสังคมไทย. กรุงเทพฯ : โครงการเผยเเพร่ผลงานทางวิชาการ  คณะวิทยาศาสตร์  จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
  3. อัควิทย์  เรืองรอง. (2546). ถักถ้อยร้อยความคิด : รวมบทความด้านวรรณกรรมศึกษา. คณะมนุษยศาสตร์เเละสังคมศาสตร์  มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา.
  4. อัควิทย์  เรืองรอง. (2546). เอกสารประกอบการสอนเรื่อง การอ่านเพื่ออุดมคติ. คณะมนุษยศาสตร์เเละสังคมศาสตร์  มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา.
  5. อัควิทย์  เรืองรอง. (2556). เเนวพระราชดำริเกี่ยวกับการพัฒนาประเทศ จากพระบรมราโชวาทในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เเละเเนวทางการประยุกต์ใช้เพื่อพัฒนานิสิตนักศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา. สาขาวิชาพัฒนศึกษา  ภาควิชานโยบายเเละความเป็นผู้นำทางการศึกษา  คณะครุศาสตร์  จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
  6. อัควิทย์  เรืองรอง. (2556). สารานุกรมรอบรู้ประชาคมอาเซียน ราชอาณาจักรกัมพูชา. กรุงเทพฯ : เอส.พี. อินเตอร์เอ็ดดูเคชั่น.
  7. อัควิทย์  เรืองรอง. (2556). สารานุกรมรอบรู้ประชาคมอาเซียน ราชอาณาจักรไทย. กรุงเทพฯ : เอส.พี. อินเตอร์เอ็ดดูเคชั่น.
  8. อัควิทย์  เรืองรอง. (2556). สารานุกรมรอบรู้ประชาคมอาเซียน สาธารณรัฐสิงคโปร์. กรุงเทพฯ : เอส.พี. อินเตอร์เอ็ดดูเคชั่น.
  9. อัควิทย์  เรืองรอง. (2557). พจนานุกรมภาพ 10 ภาษาอาเซียน. กรุงเทพฯ : สื่อสร้างสรรค์พัฒนา.

รางวัลที่ได้รับ

ผลงานอื่นๆ

  1. จัดโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อเพิ่มศักยภาพการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการและงานวิจัย ระยะที่ 1 ณ ห้อง2704A  วันที่ 25 เมษายน 2558 คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์  มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
  2. “เทคนิคการเขียนบทความวิชาการเพื่อตีพิมพ์ในวารสาร” โดยฝ่ายวิจัยและบริการวิชาการแก่สังคม คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
  3. สัมมนาภาษาไทย: ภาษาโฆษณาบนสื่อออนไลน์