ศึกษาศึกยภาพแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศ:กรณีศึกษาตลาดน้ำคลองบางหลวง จังหวัดกรุงเทพมหานคร

ศึกษาศักยภาพแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศ : กรณีศึกษาตลาดน้้าคลองบางหลวง
จังหวัดกรุงเทพมหานคร
The Potential of Ecotourism Case study Khlong Bang luang Floating market
Bangkok
ดร.ตุลยราศรี ประเทพ
สาขาวิชาการท่องเที่ยว คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
E-mail : [email protected]
บทคัดย่อ
การวิจัยเรื่อง ศึกษา ศักยภาพ แหล่ งท่องเที่ ยวเชิงนิเวศ : กรณีศึกษาตลาดน้้าคลองบางหลวง จังหวัด
กรุงเทพมหานคร โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่ อศึกษาสภาพปัญหาของแหล่งท่องเที่ ยวเชิงนิเวศตลาดน้้าคลองบางหลวง
และ เพื่ อศึกษาศักยภาพของแหล่งท่องเที่ ยวเชิงนิเวศตลาดน้้าคลองบางหลวง กลุ่มตัวอย่างที่ ใช้ในการวิ จัยครั้งนี้
ประชาชนในท้องถิ่ น (ประชาชนในพื้นที่ ) จ้านวน 139 คน และเป็นนักท่ องเที่ ยวที จ้านวน 212 คน โดยเลือก
ตัวอย่างแบบบังเอิญ (Accidental Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่ อการวิจัยในครั้งนี้ คือแบบ
ประเมินศักยภาพแหล่งท่องเที่ยว เครื่องมือที่
จากการศึกษา พบว่า ศักยภาพแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศตลาดน้้าคลองบางหลวง โดยรวม มีศักยภาพอยู่ใน
ระดับมาก
เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า มีความคิดเห็นต่อศักยภาพ ด้านพื้นที่ อยู่ในระดับมากโดยมีค่าเฉลี่ย ( x ˉ =
3.57) รองลงมา คือ ด้านกิจกรรม และด้านการจัดการ ตามล้าดับ
เมื่อพิจารณาศักยภาพในด้านต่ างๆ อันได้แก่ ด้านพื้นที่ ด้านการจัดการ ด้านกิจกรรมและกระบวนการ
และด้านการมีส่วนร่วม พบว่า ด้านพื้นที่ กลุ่มตัวอย่างเห็นด้วยกับเรื่องความเป็นเอกลักษณ์เฉพาะของท้องถิ่ นและ
ดึงดูดใจของแหล่งท่องเที่ยว มากที่สุดโดยมีค่าเฉลี่ย (x ˉ = 3.94) ด้านการจัดการ กลุ่มตัวอย่างเห็นด้วยกับเรื่องการ
จัดโซนร้านค้า ร้านอาหาร ร้านจ้าหน่ายสินค้าและของที่ระลึกมีความเหมาะสม มากที่ สุด โดยมีค่าเฉลี่ย ( x ˉ = 3.92)
ด้านกิจกรรมและกระบวนการ กลุ่มตัวอย่างเห็นด้วยกับเรื่องประโยชน์และความคุ้มค่าในการเดินทางมาท่องเที่ ยว
มากที่ สุด โดยมีค่ าเฉลี่ ย ( x ˉ = 3.87) ด้านการมีส่ วนร่ วม กลุ่ มตัวอย่ างเห็นด้วยกับเรื่ องความเป็นมิตรต่ อ
นักท่องเที่ยวของประชาชนในท้องถิ่ น มากที่สุด มีค่าเฉลี่ย (x ˉ = 3.90)
ค้าส้าคัญ: ศักยภาพ การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
Abstract
The purposes of this research were To study the issue of eco-tourism market, Khlong
Bang Luang, and to study the potential of ecotourism market Khlong Bang Luang . The tool used
in this research tourism potential evaluation from. Sample groups in this research are 139 local
people and 212 tourists. Were selected by random sampling (Accidental Sampling) the
instruments used to collect data for this study. Is a potential tourist attraction. The process and
statistic used to analyze information are content analysis, average, percentage and variance. The
result of the research can be conclude d as following. The study found that the potential for
ecotourism market Khlong Bang Luang overall potential is high. Considering that the opinion on
the potential of the area at a high level, with an average (x ˉ = 3.57), followed by the activities (xˉ
= 3.51), and management (xˉ = 3.49), respectively (xˉ = 3.28).
Considering the potential in various areas, including the management , the activities and
processes. The involvement of local groups that agree with the unique characteristics of the local
attractions of the city. Most average (xˉ = 3.94) management. The sample agrees with the zone of
shops, restaurants and souvenir shops are most appropriate average (x ˉ = 3.92) the activities and
processes. The samples agree on the benefits and value of traveling the most, with an average
(xˉ = 3.87) and participation. The sample agrees with the friendliness of the local people, tourists
most are average (xˉ = 3.90)
Keywords: Potential Ecotourism
ความเป็นมาและความส้าคัญของปัญหา
อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวเป็นหนึ่งในธุรกิจอุตสาหกรรมที่สร้างชื่อเสียง สร้างผลก้าไรและรายได้หลักเข้าสู่
ประเทศไทยอย่างมหาศาล ในปัจจุบัน รูปแบบของการท่องเที่ยวมีแบ่งออกเป็นประเภทไว้อย่างชัดเจนและมากมาย
รูปแบบการท่องเที่ ยวอีกประเภทหนึ่งที่ ได้รับความนิยมอย่างสูงจากนักท่องเที่ ยวคือ การท่องเที่ ยวเชิงนิเวศ หรือ
Ecotourism ซึ่งมีความหมายที่แปลได้ว่า การท่องเที่ยวเกี่ยวกับที่อยู่อาศัย หมายความถึงการท่องเที่ ยวที่ เน้นในด้าน
การจัดการสิ่งแวดล้อม อันเป็นที่ อยู่อาศัยของสิ่งมีชีวิตต่างๆ ทั้งพืช สัตว์และมนุษย์ ( บุญเลิศ จิตตั้งวัฒนา, 25 50 )
ซึ่งอีกความหมายหนึ่งนั้น กล่าวว่า เป็นการท่องเที่ ยวในแหล่งท่องเที่ ยวธรรมชาติ โดยมีการให้ความรู้แก่ผู้เกี่ยวข้อง
และให้ชุมชนท้องถิ่ นสร้างจิตส้านึกให้ทุกๆฝ่ายร่วมกันรับผิดชอบต่อระบบนิเวศอย่างยั่งยืน (บุญเลิศ จิตตั้งวัฒนา,
2548) ดังนั้นจึงอาจกล่าวถึงนิยามของการท่องเที่ยวเชิงนิเวศได้ว่า การท่องเที่ ยวที่ ถูกจัดการดูแลอย่างยั่งยืน อยู่บน
พื้นฐานของธรรมชาติ มีการศึกษาด้านการเรียนรู้วัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อม เอื้อประโยชน์ต่อการอนุรักษ์และสร้าง
ความพึงพอใจแก่นักท่องเที่ยว (Raff Buckley, 1992)
การท่องเที่ ยวเชิงนิเวศ จึงเป็ นอีกรูปแบบหนึ่งของการท่ องเที่ ยวในยุคปัจจุบันที่ นานาประเทศต่างให้
ความส้าคัญ เพื่ อมุ่งไปสู่การพัฒนาที่ ยั่งยืนของประเทศและนานาชาติ โดยให้ความส้าคัญแก่การให้การศึกษาหรือ
การเรียนรู้ มุ่งเน้นให้เกิดการอนุรักษ์มากกว่าการจัดการลดหรือปราศจากผลกระทบและนักท่องเที่ ยวพึง พอใจเท่านั้น
แต่การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ จะต้องเป็นการท่องเที่ ยวที่ มีความรับผิดชอบในแหล่งท่องเที่ ยว มีการจัดการสิ่งแวดล้อม
และให้การศึกษาด้านความรู้แก่ นักท่ องเที่ ยวอีกด้วย (ศูนย์วิจัยป่ าไม้, 25 48) จึงสรุปเป็นสาระส้าคัญของการ
ท่องเที่ยวเชิงนิเวศได้ดังนี้ 1) แหล่งท่องเที่ยวที่จะส่งเสริมควรเป็นพื้นที่ธรรมชาติ ที่มีการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
และสภาพแวดล้อมเป็นหลัก อาจรวมถึงแหล่งประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมที่ ปรากฏในพื้นที่ ด้วย 2) ควรเป็นการ
ท่ องเที่ ยวที่ ทุกฝ่ ายมีความรับผิดชอบต่ อสภาพแวดล้อมธรรมชาติและระบบนิเวศ เป็นการท่ องเที่ ยวที่ ท้าให้
ทรัพยากรธรรมชาติและสภาพแวดล้อมเสื่อมโทรม 3) เน้นให้นักท่องเที่ ยวได้สัมผัสกับประสบการณ์และการเรียนรู้
จากสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติโดยตรง อีกทั้งเสริมสร้างจิตส้านึกด้านสิ่งแวดล้อมอีกด้วย 4) เป็นการท่องเที่ ยวที่
ให้ประโยชน์กลับคืนสู่ธรรมชาติ เอื้อ ประโยชน์ต่อชุมชนท้องถิ่ นทั้งทางตรงและทางอ้อม 5) มุ่งเน้นคุณค่าลักษณะ
เด่นที่เป็นเอกลักษณ์ของธรรมชาติ ที่เป็นแหล่งท่องเที่ ยวในการดึงดูดใจนักท่องเที่ ยว แต่ไม่เน้นที่ การเสริมเติมแต่ง
หรือพัฒนาสิ่งอ้านวยความสะดวกมากเกินความจ้าเป็น
รูปแบบของการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ตามที่มีการจัดแบ่งไว้นั้นมี 11 รูปแบบ อันได้แก่ 1) การเดินเส้นทาง
ธรรมชาติ 2) การส่องสัตว์/ดูนก 3) การส้ารวจถ้้า/น้้าตก 4) การปีนเขา/ไต่เขา 5) การล่องแก่ง 6) การนั่งเรือ/
แพชมภูมิประเทศ 7) การพายเรือแคนู/เรือคะยัก 8) การขี่ม้า/นั่งช้าง 9) การขี่ จักรย านชมภูมิประเทศ 10) การ
กางเต็นท์นอนพักแรม และ 11) การด้าน้้าในทะเล ซึ่งการท่องเที่ ยวตลาดน้้าเป็นรูปแบบการท่องเที่ ยวเชิงนิเวศอีก
ชนิดหนึ่ง ที่ได้รับการส่งเสริมและจัดหมวดหมู่รวมอยู่กับประเภทการนั่งเรือ/แพชมพูมิประเทศ ใจความหลักคือ เป็น
การท่องเที่ยวแบบพักผ่อนสบายๆ ซึ่งเหมาะส้าหรับการท่องเที่ยวแบบเชิงนิเวศในประเทศไทยที่มีแม่น้้าล้าคลอง เป็น
จ้านวนมาก นักท่องเที่ ยวได้ชมภูมิประเทศตามสองฝั่ งล้าน้้า และสังเกตดูชีวิตความเป็นอยู่ ของผู้คน ตลอดจน
ศิลปวัฒนธรรมของสิ่งก่อสร้างต่างๆในท้องถิ่ นนั้นๆ การนั่งเรือชมภูมิประเทศยังครอบคลุมไ ปถึงการท่องเที่ ยวใน
บริเวณอ่างเก็บน้้า ทะเลสาบ และในท้องทะเลอีกด้วย (สารานุกรมไทยส้าหรับเยาวชนฉบับที่ 27, 2546)
ดังนั้น ความหมายโดยรวมของตลาดน้้าคือ ตลาดที่พ่อค้าแม่ค้าพายเรือบรรทุกสินค้ามาขายในย่านที่ มีการ
เดินเรือพลุกพล่าน เช่น บริเวณปากคลองหรือบริเวณชุมชนที่อาศัยอยู่ริมน้้า ในปัจจุบันตลาดน้้าลดความคึกคักจอแจ
ลงไป เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมและการคมนาคมขนส่งท างบกที่ สะดวกและรวดเร็วกว่าการ
คมนาคมขนส่งทางน้้า จึงท้าให้เกิดการถมคลองเพื่ อสร้างถนน อันมีผลให้วิถีชีวิตการท้ามาหากินของคนในชุมชน
เปลี่ยนแปลงไป อย่างไรก็ตาม การค้าขายในรูปแบบของตลาดน้้า ยังคงได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานระดับ
ท้องถิ่นตามนโยบายส่งเสริมการท่องเที่ยวของรัฐบาล เพื่อเป็นการส่งเสริมให้ประชาชนที่ มีบ้านเรือนและเรือกสวนไร่
นาตามริมแม่ น้้าล้าคลอง ได้น้าผลผลิตทางการเกษตร ตลอดจนงานหัตถกรรมพื้นบ้าน ออกมาจ้าหน่ายเป็นการ
เพิ่มพูนรายได้ให้แก่ประชาชนอีกทางหนึ่ง ตลาดน้้าในปัจจุบันที่ ยังคงอยู่และเป็นที่ รู้จักรวมถึงได้รับควา มนิยมอย่าง
แพร่หลายจากนักท่องเที่ยว ได้แก่ ตลาดน้้าคลองด้าเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี, ตลาดน้้าวัดไทร และตลาดน้้าตลิ่งชัน
จังหวัดกรุงเทพมหานคร ((สารานุกรมไทยส้าหรับเยาวชนฉบับที่ 28, 2547) ในละแวกเดียวกัน ตลาดน้้าคลองบาง
หลวง หรือคลองบางกอกใหญ่ เป็นคลองเก่าแก่ตั้งแต่ส มัยสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชครั้งก่อตั้งราชธานี ณ กรุง
ธนบุรี เหล่ าข้าราชการขุนนางชั้นผู้ใหญ่ต่ างจับจองสร้างคฤหาสน์ริมคลองบางกอกใหญ่ เนื่ องจากเป็นบริเวณ
ใกล้เคียงกับพระราชวังกรุงธนบุรี ชาวบ้านต่างเรียกคลองแหง่นี้อีกชื่อว่า “คลองบางข้าหลวง” และในปัจจุบันเหลือ
เพียง “คลองบางหลวง” ซึ่งเป็นที่ ตั้งของชุมชนที่ เรียกตนเองว่า “ชุมชนคลองบางหลวง” ซึ่งยังหลงเหลือกลิ่นอาย
แห่งความเป็นชาติไทยและอดีตอันเจริญรุ่งเรืองของกรุงธนบุรี แต่ถึงกระนั้น ในปัจจุบันแม้ตลาดน้้าคลองบางหลวง
จะยังคงความสวยงามตามธรรมชาติ รักษาไว้ซึ่งวิถีชีวิตแ ห่งชาวบ้าน มีความเงียบสงบ เต็มไปด้วยเอกลักษณ์และ
ความโดดเด่นที่หลากหลาย ไม่ว่าจะในด้านแห่งการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมไทย การใช้ชีวิตแบบพอเพียงและรักษา
สิ่งแวดล้อมแล้วไซร้ หากแต่ตลาดน้้าแห่งนี้ยังไม่ได้รับความนิยมหรือเป็นที่รู้จักรวมถึงได้รับความนิยมอย่างแพร่หลาย
ในหมู่นักท่ องเที่ ยวและประชาชนโดยทั่ วไป อันเป็นอุปสรรคต่ อการพัฒนาเศรษฐกิจของชุมชนและการส่ งเสริม
อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวเชิงนิเวศของประเทศชาติโดยรวม
จากเหตุผลดังกล่าว ผู้วิจัยจึงความสนใจที่จะศึกษาถึงสภาพปัญหารวมไปถึงศึกษาศักยภาพด้านการจัดการ
ของแหล่งท่องเที่ยวตลาดน้้าคลองบางหลวง และผลจากการวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยคาดหวังว่าจะสามารถน้าผลการวิจัยมา
เป็นข้อมูล ในการแก้ไขปัญหาเพื่อน้าไปสู่การพัฒนาศักยภาพของตลาดน้้าคลองบางหลวงต่อไป
วัตถุประสงค์ของการศึกษาวิจัย
1. เพื่อศึกษาสภาพปัญหาของแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศตลาดน้้าคลองบางหลวง
2. เพื่อศึกษาถึงศักยภาพของแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศตลาดน้้าคลองบางหลวง
ขอบเขตการศึกษาวิจัย
การศึกษาการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศ : กรณีศึกษาตลาดน้้าคลองบางหลวง
จังหวัดกรุงเทพมหานคร ได้ก้าหนดขอบเขตการศึกษาวิจัยไว้ดังนี้
ขอบเขตด้านเวลา
ช่วงเวลาระหว่าง เดือน เมษายน พ.ศ.255 8 ถึง เดือนพฤษภาคม พ.ศ.258
ขอบเขตด้านพื้นที่ศึกษา
ตลาดน้้าคลองบางหลวงและเขตชุมชนคลองบางหลวง ต้าบลคูหาสวรรค์ อ้าเภอภาษีเจริญ จังหวัด
กรุงเทพมหานคร
ขอบเขตด้านเนื้อหาการศึกษา
1. รูปแบบการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
1.1 ประเภทของการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
2. ความคิดเห็นของบุคคลที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่
2.1 ผู้น้าชุมชนอย่างเป็นทางการ
2.2 เจ้าของกิจการ หรือผู้ประกอบธุรกิจในพื้นที่
2.3 สมาชิกประชาชนในท้องถิ่ น และใกล้เคียง
3. ศักยภาพในการเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
3.1 จุดเด่นและความดึงดูดใจ
3.2 การเดินทางคมนาคมขนส่ง และการเข้าถึง
3.3 ขีดความสามารถในการรองรับของพื้นที่
3.4 ความมีเอกลักษณ์เฉพาะ
3.5 ธรรมชาติและด้านสิ่งแวดล้อม
4. ทฤษฎีทางด้านการพัฒนาศักยภาพของชุมชน
4.1 ทฤษฎีหรือองค์ความรู้ที่ช่วยในการส่งเสริม สนับสนุน
4.2 รูปแบบของการมีส่วนร่วมระหว่าง ชุมชน องค์กรต่างๆและเจ้าของธุรกิจ
ขอบเขตด้านประชากร
การศึกษาวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยได้เก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มนักท่องเที่ยว, ผู้น้าชุมชน, เจ้าของกิจการ, สมาชิก
ในชุมชนคลองบางหลวงและประชาชนในละแวกใกล้เคียง เป็นจ้านวน 350 คน
ประโยชน์ของการศึกษาวิจัย
ผลที่ได้รับจากการศึกษาวิจัยครั้งนี้ ได้แก่
1. ใช้เป็นแนวทางในการแก้ไขปัญหาเพื่อน้าไปสู่การพัฒนาศักยภาพของแหล่งท่องเที่ ยวเชิงนิเวศตลาดน้้า
คลองบางหลวง
2. น้าผลการศึกษามาใช้ในการสร้างเส้นทางการท่องเที่ยวในพื้นที่
นิยามศัพท์เฉพาะ
การศึกษาศักยภาพแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศ : กรณีศึกษาตลาดน้้าคลองบางหลวง
จังหวัดกรุงเทพมหานคร ได้ก้าหนดนิยามศัพท์เฉพาะไว้ ดังนี้
การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ หมายถึง การท่องเที่ยวที่มุ่งเน้นในด้านการรักษาสภาพแวดล้อม ความสมดุลทาง
ธรรมชาติ การรักษาระบบนิเวศรวมไปถึงรักษาวัฒนธรรม ความเป็นอยู่และวิถีชีวิตให้คงไว้ซึ่งความเป็นเอกลักษณ์
สืบไป อาทิเช่น การท่องเที่ยวตลาดน้้าต่างๆ ซึ่งเป็นรูปแบบหนึ่งของการท่องเที่ยวเชิงนิเวศในปัจจุบัน
การมีส่ วนร่วม หมายถึง การเปิดโอกาสให้ประชาชนได้เข้ามามีส่วนร่วมในกา รคิดริเริ่ ม ร่ วมก้าหนด
นโยบาย ร่วมวางแผน ตัดสินใจและปฏิบัติตาม ติดตามประเมินผลและรับผิดชอบในเรื่องต่างๆ อันมีผลกระทบต่อ
ประชาชน
4. ศักยภาพ หมายถึง ทรัพยากรของแหล่งท่องเที่ยวและความสามารถของกลุ่มบุคคลในชุมชนเพื่ อร่วมกัน
ตัดสินใจกระท้าการใดๆ ที่ จะตอบสนองความต้อง การและแก้ไขปัญหาของคนส่ วนใหญ่ ในชุมชน ซึ่ งรวมไปถึง
ความสามารถในการประสานความร่ วมมือภายในชุมชน โดยสามารถแก้ไขปัญหาที่ มีมาจากภายนอกด้วยเพื่ อ
ประโยชน์โดยรวมของชุมชน
ด้านพื้นที่ ห มายถึง เอกลักษณ์และสิ่งดึงดูดใจของแหล่งท่องเที่ ยว, ทัศนียภาพและความสวยงามของ
แหล่งท่ องเที่ยว, ความเหมาะสมของพื้นที่ที่สามารถพัฒนาเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศ รวมถึงความสะดวกสบายใน
การเดินทางเพื่อมาท่องเที่ยวที่ตลาดน้้าคลองบางหลวง
ด้านการจัดการ หมายถึง มีการก้าหนดขอบเขตของพื้นที่ที่ใช้อย่างชัดเจน, มีการบริหารจัดการเพื่ อรองรับ
จ้านวนของนักท่องเที่ ยวที่ จะเดินทางมาใช้บริการ, มีป้ายเพื่ ออธิบายการเดินทางหรือรายละเอียดต่างๆในบริเวณ
แหล่งท่องเที่ยว, มีการบริหารจัดการแหล่งท่องเที่ ยวเพื่ อไม่เป็นการรบกวนและท้าลายทรัพยากรธรรมชาติ, มีการ
จัดการด้านขยะมูลฝอยรวมไปถึงบริการสิ่งอ้านวยความสะดวกพื้นฐาน เช่น ห้องน้้าและถังขยะ
ด้านกิจกรรมและกระบวนการ หมายถึง มีกิจกรรมการท่องเที่ ยวที่ ก่อให้เกิดประโยชน์และความคุ้มค่ า
ส้าหรับนักท่ องเที่ ยว, กิจกรรมการท่ องเที่ ยวที่ ให้บริการแก่ นักท่ องเที่ ยวนั้นมีความหลากหลาย ก่ อให้เกิด
ประสบการณ์และความประทับใจ รวมถึงจิตส้านึกในการอนุรักษ์และรั กษาศิลปวัฒนธรรม ประเพณีและสิ่งแวดล้อม
ด้านการมีส่วนร่วม หมายถึง มีการประชุมหรือปรึกษาหารือของผู้น้าชุมชนและประชาชนในท้องถิ่ นถึง
แนวทางในการพัฒนาศักยภาพของแหล่งท่องเที่ยว, มีการจัดการเรื่องการกระจายรายได้และผลประโยชน์แก่ชุมชน
รวมถึงการให้ประชาชนในท้องถิ่ นได้ มีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมการท่องเที่ ยว การพัฒนาการท่องเที่ ยวและการ
อนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยว
กรอบแนวความคิดในการศึกษาวิจัย
ข้อมูลพื้นฐานของกลุ่มเป้าหมาย
1. เพศ
2. อายุ
3. อาชีพ
4. ระดับการศึกษา
5. รายได้เฉลี่ย
ศึกษาศักยภาพแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศ กรณีศึกษา ตลาดน้้าคลองบางหลวง
ผลจากการศึกษาวิจัย
แนวทางในการแก้ไขปัญหาเพื่ อน้าไปสู่การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
ตลาดน้้าคลองบางหลวง
กลุ่มที่ 1
นักท่องเที่ยว
กลุ่มที่ 2
ผู้น้าชุมชน
สมาชิกในชุมชน
ความคิดเห็น
ของกลุ่มเป้าหมาย
องค์ประกอบของการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
1. องค์ประกอบด้านพื้นที่
2. องค์ประกอบด้านการจัดการ
3. องค์ประกอบด้านกิจกรรมและกระบวนการ
4. องค์ประกอบด้านการมีส่วนรวม
วิธีด้าเนินการวิจัย
หัวข้อวิจัย ศึกษา ศักยภาพ แหล่ งท่ องเที่ ยวเชิงนิเวศ : กรณีศึกษาตลาดน้้าคลองบางหลวง จังหวัด
กรุงเทพมหานคร มุ่งเน้นการศึกษาความคิดเห็นของนักท่องเที่ ยวและประชาชนภายในท้องถิ่ นที่ มีการท่องเที่ ยวเชิง
นิเวศด้านพื้นที่ ด้านการจัดการ ด้านกิจกรรมและกระบวนการ ด้านการมีส่ วนร่วม เพื่ อใช้เป็นแนวทางในการ
พัฒนาการท่องเที่ยวเชิงนิเวศในพื้นที่ให้มีความเหมาะสม และเกิดความยั่งยืนต่อไป ดังนั้นเพื่ อให้บรรลุวัตถุประสงค์
ดังกล่าว ผู้ศึกษาวิจัยจึงได้ก้าหนดวิธีการด้าเนินการ ดังนี้
1. ข้อมูลและแหล่งข่อมูล
2. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
3. เครื่องมือที่ ใช้ในการวิจัย
4. การเก็บรวบรวมข้อมูล
5. การวิเคราะห์ข้อมูล
ข้อมูลและแหล่งข้อมูล
การวิจัยนี้เป็นการวิจัยแบบส้ารวจ (Survey Research) โดยการสอบถามความคิดเห็นของนักท่องเที่ ยว
และประชาชนภายในท้องถิ่ น ที่มีต่อการท่ องเที่ ยวเชิงนิเวศของแหล่งท่ องเที่ ยวตลาดน้้าคลองบางหลวง จังหวัด
กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นข้อมูลปฐมภูมิ (Primary Data) ที่จะใช้ในการน้าเสนอในรายงานการวิจัย รวมถึงข้อมูลทุติย
ภูมิ (Secondary Data) ที่ได้จากการค้นคว้าจากเอกสารทางวิชาการ สื่อสิ่งพิมพ์และเอกสารอื่นๆ ตลอดจนแนวคิด
และทฤษฎีที่เกี่ยวข้องในการอธิบายผลการวิจัยให้มีความถูกต้องและน่าเชื่อถือ
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
1. ประชากร ส้าหรับการศึกษาวิจัยครั้งนี้ ได้ท้าการศึกษาจากประชากร 2 กลุ่ม คือ
1.1 นักท่องเที่ยวที่มีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป จากสถิติจ้านว นนักท่องเที่ ยวที่ เดินทางมาท่องเที่ ยว
และพักผ่อนที่แหล่งท่องเที่ยวตลาดน้้าคลองบางหลวง จังหวัดกรุงเทพมหานคร เฉลี่ยเดือนล่ะ 1,500 คน (มงคลชัย
เกตุแก้ว, ผู้น้าชุมชนคลองบางหลวง)
1.2 ประชาชนในท้องถิ่ น (ประชาชนในพื้นที่ ) ที่ มีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป และอาศัยอยู่ใน พื้นที่
ชุมชนคลองบางหลวง อ้าเภอภาษีเจริญ จังหวัดกรุงเทพมหานคร ไม่ ต่้ากว่ า 1 ปี มีจ้านวนทั้งหมด 982 คน
(ส้านักงานเขตภาษีเจริญ, 2557)
2. กลุ่มตัวอย่าง
ผู้วิจัยได้ก้าหนดกลุ่ มตัวอย่ าง โดยค้านวณจากสูตรส้าหรับใช้ในการก้าหนดขนาดของกลุ่ ม
ตัวอย่าง ตามวิธีของ Taro Yamane (พิชิต ฤทธิ์จรูญ, 2545 หน้า 117) ที่ ระดับความเชื่อมั่น 95 % ความคลาด
เคลื่อนไม่เกิน 0.05 และเลือกกลุ่มตัวอย่างโดยใช้วิธีการแบบแบ่งชั้นภูมิ ( Stratified Random Sampling) โดย
ค้านวณตามวิธีดังนี้
n =
N
1+Ne
2
เมื่อ n แทน ขนาดกลุ่มตัวอย่าง
N แทน ขนาดกลุ่มประชากร
e แทน ค่าความคลาดเคลื่อนจากการสุ่มตัวอย่าง
เมื่อแทนค่าในสูตรดังกล่าว โดยก้าหนด N = 2,482 และ e = 0.05 จะได้ขนาดกลุ่มตัวอย่าง
ดังนี้
n =
2,482
1+2,482(0.05)
2
= 344.48
จากการค้านวณดังกล่าว ได้ขนาดกลุ่มตัวอย่าง 344.48 คน แต่การวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยเลือกขนาด
กลุ่ มตัวอย่ าง 350 คน โดยการเลือกกลุ่ มตัวอย่ างในครั้งนี้ ได้จากวิธีการสุ่ มตัวอย่ างแบบชั้นภูมิ ( Stratified
Random Sampling) แบ่งเป็นนักท่องเที่ยวและประชาชนในท้องถิ่น ซึ่งเทียบสัดส่วน ดังนี้
2.1 กลุ่มตัวอย่างที่เป็นนักท่องเที่ยว
ประชากรรวม จ้านวน 2,482 คน
นักท่องเที่ยวรวม จ้านวน 1,500 คน
ต้องการกลุ่มตัวอย่าง จ้านวน 350 คน
1500 x 350 = 221.52 คน
2,482
ดังนั้น การวิจัยครั้งนี้ จะได้กลุ่มตัวอย่างที่เป็นนักท่องเที่ยว จ้านวน 212 คน
2.2 กลุ่มตัวอย่างที่เป็นประชาชนในท้องถิ่ น
ประชาชนรวม จ้านวน 2,482 คน
ประชาชนในท้องถิ่ น จ้านวน 982 คน
ต้องการกลุ่มตัวอย่าง จ้านวน 350 คน
982 x 350 = 138.47 คน
2,482
ดังนั้น การวิจัยครั้งนี้ จะได้กลุ่มตัวอย่างที่เป็นประชนชนในท้องถิ่ น จ้านวน 139 คน
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อการวิจัยในครั้งนี้ ผู้วิจัยได้สร้างขึ้นเอง โดยใช้แบบสอบถามที่ มี
ลักษณะเป็นมาตราส่วนประเมินค่า (Rating Scale) แบบลิเคอร์ท (Likert) และใช้แนวทางในการสร้างข้อค้าถามจาก
การศึกษาแนวคิด ทฤษฎี เอกสารและงานวิจัยที่ เกี่ยวข้อง หลังจากนั้นน้ามาพัฒนาเครื่องมือวิจัยภา ยใต้การแนะน้า
ของผู้เชี่ยวชาญ ซึ่งก้าหนดน้้าหนักตามระดับความคิดเห็นไว้ 5 ระดับ คือ มากที่ สุด มาก ปานกลาง น้อย และน้อย
ที่สุด โดยแบบสอบถามแบ่งออกเป็น 3 ส่วน ดังนี้
ส่วนที่ 1 : ข้อมูลพื้นฐานทั่ วไปด้านประชากรศาสตร์ จ้านวน 5 ข้อ ประกอบด้วย เพศ อายุ ระดับ
การศึกษา อาชีพ และรายได้เฉลี่ยต่อเดือน โดยลักษณะค้าถามเป็นแบบให้ผู้ตอบตรวจสอบรายการ ( Check List)
ส่วนที่ 2 : เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับความคิดเห็นของนักท่องเที่ยวที่มีต่อการท่องเที่ ยวเชิงนิเวศของตลาด
น้้าคลองบางหลวง อ้าเภอภาษีเจริญ จังหวัดกรุงเทพมหานคร ประกอบด้วย 4 ด้าน คือ ด้านพื้นที่ ด้านการจัดการ
ด้านกิจกรรมและกระบวนการ และด้านการมีส่ วนร่ วม ลักษณะค้าถามเป็นแบบมาตราส่ ว นประเมินค่า ( Rating
Scale) แบบลิเคอร์ท (Likert) ที่มีค่าประเมินเป็น 5 ระดับ โดยก้าหนดเกณฑ์ของน้้าหนักคะแนนแต่ล่ะตัวเลือก ดังนี้
ตอบว่า มากที่สุด ให้ 5 คะแนน
ตอบว่า มาก ให้ 4 คะแนน
ตอบว่า ปานกลาง ให้ 3 คะแนน
ตอบว่า น้อย ให้ 2 คะแนน
ตอบว่า น้อยที่สุด ให้ 1 คะแนน
เกณฑ์การแปรผล จึงก้าหนดได้ ดังนี้ (ชูใจ คูหารัตนชัย, 2542)
1.00 – 1.80 อยู่ในเกณฑ์ น้อยที่สุด
1.81 – 2.60 อยู่ในเกณฑ์ น้อย
2.61 – 3.40 อยู่ในเกณฑ์ ปานกลาง
3.41 – 4.20 อยู่ในเกณฑ์ มาก
4.21 – 5.00 อยู่ในเกณฑ์ มากที่ สุด
ส่วนที่ 3 : แบบสอบถามแสดงความคิดเห็นและข้อเสนอแนะอย่างอิสระเกี่ยวกับการท่องเที่ ยวเชิงนิเวศ
ของตลาดน้้าคลองบางหลวง อ้าเภอภาษีเจริญ จังหวัดกรุงเทพมหานคร ลักษณะค้าถามเป็นแบบค้าถามปลายเปิด มี
จ้านวน 4 ข้อ
1. ท่านมีความคิดเห็น และข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการจัดการสภาพแวดล้ อมในแหล่งท่องเที่ ยวของตลาดน้้า
คลองบางหลวง อ้าเภอภาษีเจริญ จังหวัดกรุงเทพมหานคร
2. ท่านมีความคิดเห็น และข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการให้บริการสิ่งอ้านวยความสะดวกพื้นฐานของตลาดน้้า
คลองบางหลวง อ้าเภอภาษีเจริญ จังหวัดกรุงเทพมหานคร
3. ท่านมีความคิดเห็น และข้อเสนอแนะเกี่ย วกับกิจกรรมการท่องเที่ ยวเชิงนิเวศของตลาดน้้าคลองบาง
หลวง อ้าเภอภาษีเจริญ จังหวัดกรุงเทพมหานคร
4. ท่ านมีความคิดเห็น และข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการพัฒนาการท่องเที่ ยวของตลาดน้้าคลองบางหลวง
อ้าเภอภาษีเจริญ จังหวัดกรุงเทพมหานคร
การเก็บรวบรวมข้อมูล
1. เก็บรวบรวมข้อมูลจากเอกสาร หนังสือ บทความทางวิชาการ และงานวิจัยที่ เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ ยว
เชิงนิเวศ การพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ตลอดจนองค์ความรู้ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
2. เก็บรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถาม โดยด้าเนินการเป็นขั้นตอน ดังนี้
2.1 ท้าการศึกษาข้อมูลต่างๆ ก่อนด้าเนินการเข้าไปเก็บรวบรวมข้อมูล โดยศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับสภาพพื้นที่
วิถีชีวิตและวัฒนธรรมท้องถิ่ น กิจกรรมการท่ องเที่ ยวของตลาดน้้าคลองบางหลวง อ้าเภอบางกอกใหญ่ จังหวัด
กรุงเทพมหานคร
2.2 ติดต่อขอความร่วมมือ เพื่ อเข้าไปเก็บข้อมูลจากกลุ่มผู้น้าชุมชนคลองบางหล วง อ้าเภอภาษีเจริญ
จังหวัดกรุงเทพมหานคร
2.3 ด้าเนินการเก็บข้อมูลในพื้นที่ ท้าการศึกษา โดยวิธีการสุ่ มตัวอย่ างแบบบังเอิญ ( Accidental
Sampling) จากนั้นให้กรอกแบบสอบถามแล้วรอรับคืน เพื่อตรวจสอบความถูกต้อง
2.4 เก็บรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากแบบสอบถาม
การวิเคราะห์ข้อมูล
หลังจากการเก็บข้อมูลจากพื้นที่ที่ศึกษาเรียบร้อยแล้ว น้าข้อมูลทั้งหมดมาคัดเลือก จับระเบียบ จัดกลุ่ม
ข้อมูล แล้วน้ามาวิเคราะห์และประมวลผล ดังนี้
1. ข้อมูลที่ได้จากแบบสอบถาม ผู้วิจัยได้น้ามาวิเคราะห์ด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์โปรแกรมส้าเร็จรูปเพื่ อการ
วิจัยทางสังคมศาสตร์ (Statistic Package For The Social Science : SPSS) โดยผู้วิจัยได้ใช้สถิติดังต่อไปนี้มาท้า
การวิเคราะห์ ได้แก่ การแจกแจงความถี่ (Frequency) ค่าเฉลี่ย ( Mean) ร้อยล่ะ ( Percentage) และส่วนเบี่ยงเบน
มาตรฐาน (Standard Deviation)
2. ข้อมูลที่เป็นค่าเฉลี่ย (Mean) ได้น้ามาประเมิน Rating Scale ในระดับต่างกัน ซึ่งเกณฑ์การแปรผลนั้น
ผู้วิจัยได้ใช้สูตรในการค้านวณอันตภาคชั้น คือ
(คะแนนสูงสุด – คะแนนต่้าสุด) = (5 – 1) = 0.8
จ้านวนระดั บชั้น 5
เกณฑ์การแปรผล จึงก้าหนดได้ ดังนี้
1.00 – 1.80 อยู่ในเกณฑ์ น้อยที่สุด
1.81 – 2.60 อยู่ในเกณฑ์ น้อย
2.61 – 3.40 อยู่ในเกณฑ์ ปานกลาง
3.41 – 4.20 อยู่ในเกณฑ์ มาก
4.21 – 5.00 อยู่ในเกณฑ์ มากที่ สุด
3. แนวทางการพัฒนาการท่ องเที่ ยวเชิง นิเวศของตลาดน้้าคลองบางหลวง อ้าเภอภาษีเจริญ จังหวัด
กรุงเทพมหานคร วิเคราะห์ผลโดยสถิติเชิงพรรณา
สรุปผลการวิจัย
ผลการวิเคราะห์ข้อมูลในครั้งนี้ ประกอบด้วย การวิเคราะห์ข้อมูลด้านลักษณะทางประชากรศาสตร์ของ
กลุ่มตัวอย่าง ตลอดจนความคิดเห็นของนักท่องเที่ยวและประชาชนใ นท้องถิ่ นที่ มีต่อการท่องเที่ ยวเชิงนิเวศตลาดน้้า
คลองบางหลวง ต้าบลคูหาสวรรค์ อ้าเภอภาษีเจริญ จังหวัดกรุงเทพมหานคร โดยใช้ค่าทางสถิติ ประกอบด้วย
ค่าเฉลี่ย ร้อยละ และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้
ลักษณะทางประชากรศาสตร์ของกลุ่มตัวอย่าง ซึ่งเป็นนักท่องเที่ ยวและประชาชนในท้องถิ่ น พบว่า กลุ่ม
ตัวอย่างที่ ตอบแบบสอบถามส่วนมาก เป็นเพศหญิง (ร้อยละ 56.4) อายุอยู่ระหว่าง 21 -30 ปี (ร้อยละ 35.9) มี
การศึกษาระดับปริญญาตรี (ร้อยละ 31.9) อาชีพพนักงาน/ลูกจ้างบริษัทเอกชน (ร้อยละ 43.3) และมีรายได้เฉลี่ยต่อ
เดือน 10,001 – 15,000 บาท (ร้อยละ 27.4)
ความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่าง ซึ่งเป็นนักท่องเที่ยวและประชาชนในท้องถิ่ น ที่ มีต่อการท่องเที่ ยวเชิงนิเวศ
ตลาดน้้าคลองบางหลวง ต้าบลคูหาสวรรค์ อ้าเภอภาษีเจริญ จังหวัดกรุงเทพมหานคร พบว่า ค วามคิดเห็นของกลุ่ม
ตัวอย่าง ซึ่งเป็นนักท่องเที่ยวและประชาชนในท้องถิ่ น ที่ มีต่อการท่องเที่ ยวเชิงนิเวศตลาดน้้าคลองบางหลวง ต้าบล
คูหาสวรรค์ อ้าเภอภาษีเจริญ จังหวัดกรุงเทพมหานคร โดยรวม อยู่ ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่ า
นักท่องเที่ยวและประชาชนในท้องถิ่นเห็นด้ วยต่อการท่องเที่ ยวเชิงนิเวศตลาดน้้าคลองบางหลวง ต้าบลคูหาสวรรค์
อ้าเภอภาษีเจริญ จังหวัดกรุงเทพมหานคร เป็นอันดับแรกคือ ด้านพื้นที่ อยู่ในระดับมาก รองลงมาคือ ด้านกิจกรรม
และกระบวนการ ด้านการมีส่วนร่วม อยู่ในระดับมาก และด้านการจัดการ อยู่ในระดับปานกลาง
การอภิปรายผล
การวิจัยเรื่อง ศึกษาการพัฒนาแหล่งท่องเที่ ยวเชิงนิเวศ : กรณีศึกษาตลาดน้้าคลองบางหลวง ต้าบลคูหา
สวรรค์ อ้าเภอภาษีเจริญ จังหวัดกรุงเทพมหานคร สามารถอภิปรายผลได้ ดังนี้
เมื่อพิจารณาจากลักษณะทางประชากรศาสตร์ของกลุ่มตัวอย่าง ซึ่งเป็นนักท่องเที่ ยวและประชาชนใน
ท้องถิ่น ซึ่งเป็นข้อมูลที่จ้าแนกตาม เพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ และรายได้เฉลี่ยต่อเดือน พบว่า กลุ่มตัวอย่าง
ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง คิดเป็นร้อยละ 56.4 และ เพศชาย คิดเป็นร้อยละ 43.6 อายุอยู่ระหว่าง 21 -30 ปี (ร้อยละ
35.9) มีการศึกษาระดับปริญญาตรี (ร้อยละ 31.9) อาชีพพนักงาน/ลูกจ้างบริษัทเอกชน (ร้อยละ 43.3) และมีรายได้
เฉลี่ยต่อเดือน 10,001 – 15,000 บาท (ร้อยละ 27.4)
จากผลการส้ารวจนี้ได้กลุ่มตัวอย่าง เป็นเพศหญิงมากกว่าเพศชาย น่าจะเนื่องมาจาก นักท่องเที่ ยวเพศ
หญิงมีความนิยมชมชอบในธรรมชาติ พร้อมกับศิลปะ วัฒนธรรมและการอนุรั กษ์ไว้ซึ่งขนบธรรมเนียมประเพณี ทั้งนี้
เนื่องจากแหล่งท่องเที่ยวตลาดน้้าคลองบางหลวงนั้น มีสถานที่ ท่องเที่ ยวส้าคัญๆ อีกแห่งรวมอยู่ด้วยคือ บ้านศิลปิน
ซึ่งเป็นแหล่งอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมไทยที่ส้าคัญอีกแห่งหนึ่ง ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของอาทิตย์ แซ่ย่าง (2553) ได้
ท้าการศึกษาเรื่อง พฤติกรรมและความพึงพอใจของนักท่องเที่ ยวชาวไทยต่อการเดินทางท่องเที่ ยวในพื้นที่ อุทยาน
แห่ งชาติดอยสุเทพ -ปุย อ้าเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ผลการศึกษา พบว่ า แหล่ งท่ องเที่ ยวเชิงธรรมชาติหรือ
ศิลปวัฒนธรรมนั้น ดึงดูดความต้องการเดินทางท่องเที่ ยวแก่นักท่องเที่ยวที่ เป็นเพศหญิง มากกว่านักท่องเที่ ยวเพศ
ชาย
จากผลการส้ารวจนี้ได้กลุ่ มตัวอย่ าง ที่ มีอายุอยู่ ระหว่ าง 21 -30 ปี (ร้อยละ 35.9) มากที่ สุด น่ าจะ
เนื่องมาจาก นักท่องเที่ ยวส่วนใหญ่เป็นกลุ่มวัยรุ่นหรือนักศึกษา และกลุ่มวัยท้างานหนุ่มสาวที่ นิยมและชื่นชอบใน
แหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ซึ่งเป็นสถานที่ ที่ เหมาะส้าหรับการพักผ่อนเพื่ อผ่อนคลายความตึงเครียดและความเหน็ด
เหนื่อยจากการเรียนและการท้างาน พร้อมชมทิวทัศน์ตามธรรมชาติ เรียนรู้ที่ จะอนุรักษ์และสร้างจิตส้านึกให้แก่
สังคม ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของรัชนี เพ็ชร์ช้าง (2555) ได้ท้าการศึ กษาเรื่อง รูปแบบการจัดการท่องเที่ ยวอุทยาน
แห่ งชาติล้าน้้าน่ าน อ้าเภอท่ าปลา จังหวัดอุตรดิตถ์ ผลการศึกษา พบว่ า การจัดการท่ องเที่ ยวในรูปแบบการ
ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ควรมีการบริหารจัดการให้เหมาะสมกับความต้องการและวัยของนักท่องเที่ยว
จากผลการส้ารวจนี้ได้กลุ่ มตัวอย่าง ที่ มีการศึกษาระดับปริญญาตรี (ร้อยละ 31.9) มากที่ สุด น่ าจะ
เนื่องมาจาก นักท่องเที่ยวส่วนใหญ่มีความรู้ และมีระดับการศึกษาสูง ซึ่งมักจะพิจารณากิจกรรมการท่องเที่ ยวในช่วง
ที่ มีเวลาว่ างและถูกวางแผนไว้อย่ างรอบคอบ และรัดกุม ในด้านคุณภาพและค่ าใช้จ่ ายเพื่ อการท่ องเที่ ยว ซึ่ ง
สอดคล้องกับงานวิจัยของพีรกานต์ ศิริรักษ์ (2554) ได้ท้าการศึกษาเรื่อง ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการท่องเที่ ยวเชิง
นิเวศของนักท่องเที่ยวในจังหวัดภูเก็ต พบว่า ระดับการศึกษาที่ แตกต่างกันมีผลต่อพฤติกรรมการเดินทางท่องเที่ ยว
เชิงนิเวศ เพราะ เมื่อนักท่องเที่ยวมีการศึกษาสูงตั้งแต่ระดับปริญญาตรีขึ้นไป มักจะเลือกเดินทางโดยมีการวางแผน
วันเวลาและงบประมาณไว้ในการท่องเที่ ยวเป็นอย่างดี เช่น อาจมีการซื้อแพคเกจทัวร์ล่วงหน้าตามงานท่องเที่ ยว
เพื่อเป็นการคาดการณ์งบประมาณท่องเที่ยวได้เป็นอย่างดี
จากผลการส้ารวจนี้ได้กลุ่มตัวอย่าง ที่ ประกอบอาชีพพนักงาน/ลูกจ้างบริษัทเอกชน (ร้อยละ 43.3) มาก
ที่สุด น่าจะเนื่องมาจาก นักท่องเที่ยวส่วนใหญ่ใช้เวลาในช่วงวันธรรมดา ตั้งแต่ วันจันทร์ – วันศุกร์ ในการท้างานหรือ
การประกอบอาชีพ ดังนั้นเมื่อมีเวลาในวันหยุดเสาร์และอาทิตย์ ถึงใช้เวลาในการเดินทางท่องเที่ ยวเพื่ อพักผ่อน หรือ
หลีกหนีเบื่อหน่าย ซ้้าซากความจ้าเจจากการท้างานหรือการท่องเที่ ยวตามศูนย์การค้า -ห้างสรรพสินค้า มายังแหล่ง
ท่องเที่ ยวเชิงนิเวศแทน ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของแสงเดือน สอนเจริญ (2548) ได้ท้าการศึกษาเรื่อง อาชีพที่
แตกต่างกันมีผลต่อการพฤติกรรมการท่องเที่ ยวของนักท่องเที่ ยวชาวไทยบริเวณ อ้าเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย
พบว่า อาชีพที่แตกต่างกันมีผลต่อพฤติกรรมการเดินทางท่องเที่ยวเชิงนิเวศในด้านระยะเวลาและงบประมาณ
จากผลการส้ารวจนี้ได้กลุ่มตัวอย่าง ที่มีรายได้เฉลี่ ยต่อเดือน 10,001 – 15,000 บาท (ร้อยละ 27. 4) มาก
ที่สุด น่าจะเนื่องมาจาก นักท่องเที่ยวส่วนใหญ่มีการศึกษาในระดับสูง ประกอบอาชีพการงานที่ มีความมั่นคงและได้
ค่าตอบแทนในระดับมาตรฐานตามวุฒิการศึกษาของตน อีกทั้งยังไม่มีภาระหนี้สินให้ต้องช้าระ ซึ่งสอดคล้องกับผล
ส้ารวจในด้านอาชีพและอายุ จึงมีพฤติกรรมที่ สามารถใ ช้จ่ ายรายได้ส่ วนหนึ่ งเพื่ อกิจกรรมยามว่ าง เพื่ อความ
เพลิดเพลินและการเดินทางท่องเที่ยวไปยังสถานที่ต่างๆได้อย่างสะดวกสบาย ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของณัฐกานต์
โรจนุตมะ (2542) ได้ท้าการศึกษาเรื่ อง ปัจจัยที่ ก้าหนดอุปสงค์ของการท่ องเที่ ยวภายในประเทศของคน
กรุงเทพมหานคร พบว่า รายได้เป็นปัจจัยหลักที่ ก้าหนดอุปสงค์ค่าใช้จ่ายในการเดินทางท่องเที่ ยวของนักท่องเที่ ยว
ชาวกรุงเทพมหานคร โดยมีความสัมพันธ์กันในทิศทางบวก คือ ถ้ารายได้มากขึ้นก็จะมีพฤติกรรมในการใช้จ่ายเพื่ อ
การเดินทางท่องเที่ยวเพิ่มขึ้น
เมื่อพิจารณาจากองค์ประกอบของการท่องเที่ยวเชิงนิเวศโดยรวม อันได้แก่ ด้านพื้นที่ ด้านการจัดการ
ด้านกิจกรรมและกระบวนการ และด้านการมีส่วนร่วม พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เห็นด้วยต่อการท่องเที่ ยวเชิง
นิเวศ ตลาดน้้าคลองบางหลวง ต้าบลคูหาสวรรค์ อ้าเภอภาษีเจริญ จังหวัดกรุงเทพมหานคร เป็นอันดับแรก คือ ด้าน
พื้นที่ อยู่ในระดับมาก (x ˉ = 3.57) รองลงมา คือ ด้านกิจกรรมและกระบวนการ อยู่ในระดับมาก ( x ˉ = 3.51) ด้าน
การมีส่วนร่วม อยู่ในระดับมาก (x ˉ = 3.49) และด้านการจัดการ อยู่ในระดับปานกลาง (x ˉ = 3.28) ตามล้าดับ
จากผลการส้ารวจนี้ กลุ่มตัวอย่างเห็นด้วยกับองค์ประกอบของการท่องเที่ ยวเชิงนิเวศด้านพื้นที่ มากที่ สุด
น่าจะเนื่องมาจาก ความมีเอกลักษณ์เฉพาะถิ่น ทั้งนี้รวมถึงแหล่งวัฒนธรรมและประวัติศาสตร์ที่ เกี่ยวเนื่องกับระบบ
นิเวศในพื้นที่คลองบางหลวง รวมถึงองค์ประกอบและรายละเอี ยดด้านอื่นๆของสถานที่ ซึ่งสามารถดึงดูดและสร้าง
พฤติกรรมที่ก่อให้เกิดความต้องการในเดินทางมาท่องเที่ ยวของนักท่องเที่ ยวได้มากที่ สุด ถือว่าเป็นความประทับใจ
แรกให้แก่นักท่องเที่ยวที่เดินทางมาเยี่ยมเยือน ซึ่งสอดคล้องกับบทความของสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แห่งประเทศไทย (2550) เรื่ององค์ประกอบของการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
เมื่อพิจารณาจากองค์ประกอบของการท่องเที่ยวเชิงนิเวศรายด้านในด้านต่างๆ อันได้แก่ ด้านพื้นที่
ด้านการจัดการ ด้านกิจกรรมและกระบวนการ และด้านการมีส่วนร่วม พบว่า
ด้านพื้นที่ กลุ่มตัวอย่างเห็นด้วยกับเรื่องความเป็นเอกลักษณ์เฉพาะของท้องถิ่ นและดึงดูดใจของแหล่ ง
ท่องเที่ยว ซึ่งอยู่ในระดับมาก (x ˉ = 3.94) มากที่สุด
ด้านการจัดการ กลุ่มตัวอย่างเห็นด้วยกับเรื่องการจัดโซนร้านค้า ร้านอาหาร ร้านจ้าหน่ายสินค้าและของที่
ระลึกมีความเหมาะสม ซึ่งอยู่ในระดับมาก (x ˉ = 3.92) มากที่สุด
ด้านกิจกรรมและกระบวนการ กลุ่มตัวอย่างเห็นด้วยกับเรื่องประโยชน์และความคุ้มค่าในการเดินทางมา
ท่องเที่ยว ซึ่งอยู่ในระดับมาก (x ˉ = 3.87) มากที่สุด
ด้านการมีส่วนร่วม กลุ่มตัวอย่างเห็นด้วยกับ เรื่องความเป็นมิตรต่อนักท่องเที่ ยวของประชาชนในท้องถิ่ น
ซึ่งอยู่ในระดับมาก (x ˉ = 3.90) มากที่สุด
จากผลการส้ารวจนี้ กลุ่มตัวอย่างเห็นด้วยกับองค์ประกอบของการท่องเที่ ยวเชิงนิเวศด้านพื้นที่ เรื่องความ
เป็นเอกลักษณ์เฉพาะของท้องถิ่ นและดึงดูดใจของแหล่งท่องเที่ ยว มากที่ สุด น่าจะเนื่องมาจาก ลักษณะและความ
เก่าแก่ของชุมชนคลองบางหลวงทั้งในด้านประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมของความเป็นชุมชนเก่าแก่ที่ มีมาตั้งแต่ครั้ง
อดีต ซึ่งนักท่องเที่ยวสามารถสัมผัสกับวิถีชีวิ ตที่ เรียบง่ายของชาวบ้านในชุมชน รวมถึงความพยายามของกลุ่มคนที่
ต้องการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมของชาติ ต้องการเก็บรักษาไว้เพื่อเป็นสมบัติอนุชนรุ่นลูกหลานสืบต่อไป
จากผลการส้ารวจนี้ กลุ่มตัวอย่างเห็นด้วยกับองค์ประกอบของการท่องเที่ยวเชิงนิเวศด้านการจัดการ เรื่อง
การจั ดโซนร้านค้า ร้านอาหาร ร้านจ้าหน่ ายสินค้าและของที่ ระลึกมีความเหมาะสม มากที่ สุด น่าจะเนื่องมาจาก
ตลาดน้้าคลองบางหลวงนั้น มีการจัดสรรพื้นที่ ในการจัดการด้านร้านค้า ร้านอาหาร ร้านจ้าหน่ายสินค้าและของที่
ระลึกอย่างเป็นสัดส่วน เพิ่มความสะดวกสบายให้แก่นักท่องเที่ยวในก ารจับจ่ายใช้สอยหรือรับบริการต่างๆ
จากผลการส้ารวจนี้ กลุ่มตัวอย่างเห็นด้วยกับองค์ประกอบของการท่องเที่ ยวเชิงนิเวศด้านกิจกรรมและ
กระบวนการ เรื่องประโยชน์และความคุ้มค่าในการเดินทางมาท่องเที่ ยว มากที่ สุด น่าจะเนื่องมาจาก ภายในอาณา
บริเวณของตลาดน้้าคลองบางหลวง แม้จะไม่กว้างขวางใหญ่โตเหมือนแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศอื่นๆ แต่มีการโดดเด่น
และสามารถรองรับความต้องการในการเดินทางมาพักผ่ อนของนักท่ องเที่ ยว รวมถึงมีเปิดการแสดงละครหุ่ น
กระบอก ของคณะบ้านศิลปินซึ่งเป็นกลุ่มคนที่ต้องการสืบสานวัฒนธรรมอันดีงามและทรงคุณค่าของประเทศไว้ ซึ่ง
นักท่องเที่ยวอาจไม่สามารถหาชมได้จากแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศอื่นๆ
จากผลการส้ารวจนี้ กลุ่มตัวอย่างเห็นด้วยกับองค์ประกอบของการท่องเที่ ยวเชิงนิเวศด้านการมีส่วนร่วม
เรื่องความเป็นมิตรต่อนักท่องเที่ยวของประชาชนในท้องถิ่น มากที่สุด น่าจะเนื่องมาจาก นักท่องเที่ ยวสามารถสัมผัส
และรับรู้ถึงการต้อนรับอันอบอุ่นรวมถึงมิตรไมตรีที่ มีให้อย่างจริงใจจากชาวบ้านในชุมชนคลองบางหลวง ซึ่งให้การ
ต้อนรับนักท่องเที่ ยวทุกคนอย่ างเสมอภาคทั่ วถึงกัน ไม่มีแบ่งชั้นวรรณะแต่อย่างใด รวมถึงการให้ความช่วยเหลือ
นักท่องเที่ ยวต่างชาติในด้านการแนะน้า การเดินทางที่ รวดเร็ว ถูกต้อง และปลอดภัยจากชาวบ้านที่ มีความสามรถ
ด้านภาษาอังกฤษ ซึ่งสร้างความประทับใจให้แก่บรรดานักท่องเที่ ยวที่ ได้เดินทางมาท่องเที่ ยวยังตลาดน้้าคลองบาง
หลวง
ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของอิศรัฏฐ์ รินไธสงและคณะ (2551) ได้ท้าการศึกษาเรื่อง รูปแบบกา รส่งเสริม
การท่องเที่ ยวเชิงอนุรักษ์ของชุมชนเมืองเก่า อ้าเภอเมือง จังหวัดสงขลา พบว่า การพัฒนาการท่องเที่ ยวเชิงนิเวศ
ต้องเกิดจากการพัฒนาศักยภาพขององค์ประกอบหลักของการท่องเที่ ยวเชิงนิเวศ ทั้ง 4 ด้าน อันได้แก่ ด้านพื้นที่
ด้านการจัดการ ด้านกิจกรรมและกระบวนการ และด้านการมีส่วนร่วม
ข้อเสนอแนะที่ได้รับจากการวิจัยครั้งนี้
ด้านพื้นที่
ควรมีการจัดการในเรื่องของความสะดวกในการเดินทางของนักท่องเที่ ยว ที่ จะเดินทางมาท่องเที่ ยวยัง
ตลาดน้้าคลองบางหลวง เนื่องมาจาก สภาพการเดินทางมีความซับซ้อนและไม่เอื้ออ้านวยต่อการเดินทาง อาจ ท้าให้
นักท่องเที่ยวเกิดความสับสนในเรื่องเส้นทาง ควรมีการจัดท้าป้ายบอกทางหรือบริการพาหนะ ซึ่งสามารถให้บริการ
แก่นักท่องเที่ยวได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงพื้นที่บางส่วนในบริเวณตลาดน้้านั้น ยังไม่มีการจัดการให้กลมกลืนกัน
เพื่อสร้างบรรยากาศของแหล่งท่องเที่ยวเลย
ด้ านการจัดการ
ควรมีการจัดการในเรื่ องของจ้านวนห้องน้้าและถังขยะแยกประเภทที่ จะให้บริการแก่ นักท่ องเที่ ยว
เนื่องมาจาก จ้านวนของห้องน้้าและถังขยะยังมีน้อยมาก ไม่เพียงพอต่อการใช้บริการ นอกจากนั้นควรมีจุดให้บริการ
นักท่ องเที่ ยวแบบเบ็ดเสร็จ ( One Stop Service) เพื่ อให้ความช่ วยเหลือและบริการข้อมูลแหล่งท่องเที่ ยวแก่
นักท่องเที่ยวอย่างชัดเจน
ด้านกิจกรรมและกระบวนการ
ควรมีการจัดการในเรื่องความหลากหลายของกิจกรรมท่องเที่ยว เนื่องมาจาก ตลาดน้้าคลองบางหลวง ยัง
มีกิจกรรมเพื่อการท่องเที่ยวน้อยมาก อาจไม่สามารถดึงดูดความสนใจข องนักท่องเที่ยวให้กลับมาใช้บริการอีกครั้ง
ด้านการมีส่วนร่วม
ควรมีการจัดการในเรื่องของการมีส่วนร่วมของประชาชนในท้องถิ่ นอย่างจริงจัง เนื่องมาจาก ยังไม่มีการ
จัดตั้งหรือประชุมเพื่ อหารือถึงแนวทางในการพัฒนาตลาดน้้าคลองบางหลวงเพื่ อเป็นแหล่งท่องเที่ ยวเชิงนิเวศเลย
ปัจจุบันยังเป็นเพียงการรวมกลุ่มของประชาชนในพื้นที่ บางส่ วนซึ่ งเป็นเพียงส่ วนน้อย ยังไม่มีการเข้ามาให้ความ
ช่วยเหลือ การดูแลหรือแนะน้าการบริหารงานไม่ว่าจะจากภาคส่วนรัฐบาล หรือองค์กรเอกชนแต่อย่างใด
บรรณานุกรม
กนกวรรณ ดุงศรีแก้ว. (2549). การจัดการการท่องเที่ยวชุมชนอย่างยั่งยืน ศึกษาเฉพาะกรณี : บ้านวังน้้ามอก
อ้าเภอศรีเมืองใหม่ จังหวัดหนองคาย. สังคมสงเคราะห์ศาสตรมหาบัณฑิต คณะ สังคมสงเคร าะ ห์
ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. อัดส้าเนา.
กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2547). การจัดการการท่องเที่ยวชุมชนอย่างยั่งยืน. กรุงเทพฯ: กระทรวงการ
ท่องเที่ยวและกีฬา.
การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย. (2545). ปัจจัยที่ก้าหนดความต้องการของนักท่องเที่ยว. อัดส้าเนา.
กรกช แสนป้อ. (2549). ศักยภาพในการพัฒนาชนเผ่าลาหู่บ้านจะบูสี ต้าบลแม่สลองนอก อ้าเภอ แ ม่ ฟ้า ห ล ว ง
จังหวัดเชียงราย เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม. ศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต สังคมศา สตร์เพื่ อกา ร
พัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย. อัดส้าเนา.
กุลวรา สุวรรณพิมล. (2544). หลักการมัคคุเทศก์ . ภูเก็ต: แหลมทองอ๊อฟเซ็ท.
กันทิมา จินโต. (2550). ศักยภาพของชุมชนย่านคลองด้าเนินสะดวกในการจัดการการท่องเที่ยว แ บ บ สั ม ผั ส
วัฒนธรรมชนบท (Home Stay). วิทยานิ พนธ์ปริญญาโท มหาวิทยาลัยศรีนคริ นทรวิโรฒ. อัดส้าเนา.
จิรวัฒน์ จันทนา. (2553). การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศ : กรณีศึกษาหัวเขาโขน หมู่ที่ 3 ต้าบลบางพระใต้
อ้าเภอละอุ่น จังหวัดระนอง. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขายุทธศาสตร์การพัฒนา
มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี . อัดส้าเนา.
ชูใจ คูหารัตนไชย. (2542). สถิติเบื้องต้น (Introduction to statistics). กรุงเทพฯ: ภาควิชาสถิติ ป ร ะ ยุ ก ต์ ,
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร.
ณัฏฐา ผิวมาและคณะ. (2550). การมีส่ วนร่วมของชุมชนท้องถิ่นในการพัฒนาแหล่งท่องเที่ ยวเชิงอนุรักษ์ :
กรณีศึกษาตลาดน้้าไทรน้อย จังหวัดนนทบุรี. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท คณะ วิ ท ย า ก า ร จั ด ก า ร
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต. อัดส้าเนา.
ทิฆัมพร เด็ดขุนทดและคณะ. (2553). การศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเกิดแล ะศักยภาพของตลาดน้้าริมแม่น้้า
นครชัยศรี เพื่อการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม : กรณีศึกษา อ้าเภอบาง เลน จังหวัดนครปฐม. วิทยานิพนธ์
ปริญญาโท คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. อัด ส้าเนา.
ทศพร ปกากุล. (2550). แนวทางการพัฒนาหน่วยอนุรักษ์และจัดการต้นน้้าเป็นแหล่งท่องเที่ยว เ ชิ ง นิ เ ว ศ
กรณีศึกษาหน่วยอนุรักษ์และจัดการต้นน้้าแม่สะมาด จังหวัดแม่ฮ่องสอน. ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวิชานโยบายและการจัดการทรัพยากร และสิ่งแวดล้อม บัณฑิต วิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกริก . อัด
ส้าเนา.
ธิติมา เกตุแก้วและคณะ. (2552). การศึกษาและการพัฒนาศักยภาพของชุมชนท้องถิ่ นในการส่ งเสริมการ
ท่องเที่ยวแบบยั่งยืน กรณีศึกษาตลาดบ้านสุด อ้าเภอบางปลาม้า จังหวัด สุพรรณบุรี . รายงานการ
วิจัยฉบับสมบูรณ์ งานวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฎศรีสะเกษ. อัดส้าเนา.
นาคม ธีรสุวรรณจักร. (2551). ความคิดเห็นของประชาชนท้องถิ่นต่อการมีส่วนร่วมในการ
ท่องเที่ยวเชิงนิเวศ กรณีศึกษา อ้าเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี. วิทยานิพนธ์ วท.ม.,
มหาวิทยาลัยมหิดล. กรุงเทพฯ. อัดส้าเนา.
นริศรา สุขเหม. (2550). ความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อการพัฒนาหาดเจ้าหลาวให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิ ง
นิเวศในพื้นที่อ้าเภอท่าใหม่ จังหวัดจันทบุรี. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท มหาวิทยาลัยบูรพา. อัดส้าเนา.
นฤพร เวศอุไร. (2552). การจัดการแหล่งท่องเที่ยวและกิจกรรมการท่องเที่ยวโดยมีชุมชนเป็น ฐานของต้าบล
บ้านเรือน อ้าเภอป่าซาง จังหวัดล้าพูน. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท วิทยาศาสตรมห าบัณฑิต สาขาวิชาการ
จัดการนันทนาการและท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยแม่โจ้. อัดส้าเนา.
ปองพล ธวัลหทัยกุลและคณะ. (2550). รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ แนวทางในการพัฒนาศักยภาพแหล่งท่องเที่ยว
เชิงเกษตรกรรมในกลุ่มจังหวัดอีสานใต้ . ส้านักงานกองทุนสนับสนุนการ วิจัย. อัดส้าเนา.
ผดุงเกียรติ ม่วงนนทศรี . (2554). รูปแบบการจัดการธุรกิจท่องเที่ยวเชิงนิเวศในอุทยานแห่งชาติ
จังหวัดเชียงใหม่ . ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพัฒนาการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยแม่โจ้ . อัด
ส้าเนา.
พิชิต ฤทธิ์จรูญ. (2545). หลักการวัดและการประเมินผลการศึกษา. กรุงเทพมหานคร: เฮ้าส์ออฟ เดอร์มิสท์
พีรกานต์ ศิริรักษ์. (2554). ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการท่องเที่ยวเชิงนิเวศของนักท่องเที่ยวในจังหวัดภูเก็ต.
สาขาวิชาการตลาด คณะบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. อัดส้าเนา.
พัทธ์ธีรา รชตะไพโรจน์. (2553). การพัฒนาขีดความสามารถในการจัดการธุรกิจการท่องเที่ยว เชิงนิเวศต้าบล
ป่าแป๋ อ้าเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ . ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพัฒนาการท่องเที่ ยว มหาวิทยาลัย
แม่โจ้. อัดส้าเนา.
ภราเดช พยัฆวิเชียร. (2539). พัฒนาการท่องเที่ยวไทยในทิศทางที่ยั่งยืน. จุลสารการท่องเที่ยว.
มณฑาวดี พูลเกิด. (2552). การพัฒนารูปแบบการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนเพื่อความยั่งยืน. บทความวิจัย
คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนคร เหนือ.อัดส้าเนา.
ยุทธการ ไวยอาภา. (2553). การพัฒนาการบริหารธุรกิจท่องเที่ยวโดยชุมชน บ้านสบวิน ต้าบล แ ม่
วิน อ้าเภอแม่วาง จังหวัดเชียงใหม่ . ดุษฎีนิพนธ์ ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชา พัฒนา กา ร ท่ องเ ที่ ย ว
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ . อัดส้าเนา.
รัชนี เพ็ชร์ช้าง. (2553). รูปแบบการจัดการท่ องเที่ ยวอุ ทยานแห่ งชาติล้าน้้าน่ าน อ้าเภอท่ าปลา
จังหวัดอุตรดิตถ์. คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์. อัดส้าเนา.
รัชนีวรรณ บุญอนนท์และคณะ. (2551). การมีส่วนร่วมของประชาชนท้องถิ่นในการจัดการแหล่ง อง
เที่ยวทางประวัติศาสตร์และวัด อ้าเภอแม่สอด จังหวัดตาก. เครือข่ายการวิจัย ภาคเหนือตอนล่าง . อัด
ส้าเนา.
วันชัย อัครทวีทอง . (2549). ศักยภาพการท่ องเที่ ยวเชิงนิเวศ บ้านวังค้าแคน อ้าเภอเมือง จังหวัด
ชัยภูมิ . รายงานการศึกษาอิสระปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต การจัดการการท่องเที่ยว คณะวิทยาการ
จัดการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. อัดส้าเนา.
ศศิรัตน์ ลอยประเสริฐ . (2552). พฤติกรรมและความพึงพอใจของนักท่ องเที่ยวที่ มีต่ อการบริหาร
จัดการแหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ ตลาดร้อยปีสามชุด จังหวัดสุพรรณบุรี . วิทยานิพนธ์ ป ริ ญ ญ า โ ท
มหาวิทยาลัยราชภัฎพระนครศรีอยุธยา. อัดส้าเนา.
ศิริวรรณ เสรีรัตน์และคณะ. (2553). ยุทธศาสตร์การพัฒนา ความสามารถทางการแข่งขันอย่างยั่งยืนและ
คุณค่าแหล่งท่องเที่ยวในเกาะช้าง. รายงานการวิจัย สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวน
ดุสิต. อัดส้าเนา.
ศุภสุตา สิกขฤทธิ์. (2552). การมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ก ร ณี อ้ า เ ภ อ
ปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท สาขาผู น้าทางสังคม ธุ ร กิจ แ ล ะ ก า ร เ มือ ง
มหาวิทยาลัยรังสิต. อัดส้าเนา.
สายพิณ สันทัดและคณะ. (2551). การศึกษาความต้องการของการพัฒนาศักยภาพของชุมชน เพื่อการพัฒนา
แหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ จังหวัดสมุทรสาคร. วารสารการวิจัย มหา วิทยาลัยรามค้าแหง. อัด
ส้าเนา.
สุชาดา งวงชัยภูมิ. (2551). การจัดการการท่องเที่ยวโดยชุมชนบ้านปราสาท อ้าเภอโนนสูง จั ง ห วั ด
นครราชสีมา. บัณฑิตวิทยาลัย สาขาวิชาการบริหารการพัฒนา มหาวิทยาลัยขอนแก่น. อัดส้าเนา.
สุรีย์วัลย์ เหิกขุนทด . (2550). การมีส่วนร่วมในการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมของผู้แทนองค์กร
เครือข่ายวัฒนธรรมในจังหวัดนครราชสีมา. ศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา .
อัดส้าเนา.
สุดศิริ หอมกลิ่น. (2552). แนวทางการพัฒนาการมีส่วนร่ว มของชุมชนท่าวังผาในการจัดการการ ท่องเที่ยว
เชิงนิเวศ อ้าเภอท่าวังผา จังหวัดน่ าน. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท วิทยาศาสตร์การกีฬา จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย. อัดส้าเนา.
สถาบันพระปกเกล้า. (2556). การมีส่วนร่วม. {Online}. Available: kpi.ac.th. {2556, เมษายน 25}.
สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย. (2540). รายงานขั้นสุดท้ายโครงการ ก า ร ด้ า เ นิ น ก า ร เ พื่ อ
ก้าหนดนโยบายการท่ องเที่ยวเพื่ อรักษาระบบนิเวศ เสนอต่อการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย. กรุงเทพฯ: กอง
บริการที่ปรึกษาศูนย์วิชาการ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย. อัดส้าเนา.
สารานุกรมไทยส้าหรับเยาวชนเล่มที่ 27. (2546). การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ. กรุงเทพฯ: ด่านสุทธาการพิมพ์ สารานุกรมไทย
ส้าหรับเยาวชนเล่มที่ 28. (2547). ตลาดน้้า. กรุงเทพฯ: ด่านสุทธาการพิมพ์
ส้านักงานพัฒนาการท่องเที่ ยว. (2548). โครงการศึกษาและก้าหนดดัชนีชี้วัด มาตรฐานคุณภาพแหล่งท่องเที่ยวเชิง
นิเวศ. กรุงเทพฯ: กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา.
อาทิตย์ แซ่ ย่าง. (2553). พฤติกรรมและความพึงพอใจของนักท่ องเที่ยวชาวไทยต่อการเดินทางท่องเที่ยวในพื้นที่
อุทยานแห่ งชาติดอยสุเทพ -ปุย อ้าเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ . แบบฝึกหัดการวิจัย คณะเศรษฐศาสตร์
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. อัดส้าเนา.
อารีรัตน์ แดงบุญมา. (2551). การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศ : กรณีศึกษาแหล่งท่องเที่ยวถ้้าเพชรโพธิ์ทอง อ้าเภอ
คลองหาด จังหวัดสระแก้ว. ปริญญานิพนธ์ สาขาวิชาการบริหาร ทั่วไป มหาวิทยาลัยบูรพา. อัดส้าเนา.
อิศรัฏฐ์ รินไธสงและคณะ. (2551). รายงานการวิจัยรูปแบบการส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ ข อ ง ชุ ม ช น
เมืองเก่า อ้าเภอเมือง จังหวัดสงขลา. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตสงขลา. อัดส้าเนา.
อุดม เชยกียวงศ์ วิมล จิโรจพันธุ์ และ ประชิต สกุณะพัฒน์. (2548). การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ. กรุงเทพฯ: แสงดาว
Boo, Elizabeth. (1991). Planning For Ecotourism. PARK. 2(3), 4-8.
Buckley, Ralf. (1994). “A Freamwork For Ecotourism.” Annals Of Tourism Research. 21. : 661- 665
Ceballos-Lascurain, H. (1991). Tourism, Eco-Tourism And Protected Areas. In Kusler, (ed.) EcoTourism And Resource Conservation. Vol.1. Eco-Tourism And Resource Conservation Project.
Charles R. Goeldner, J.R. Brent Ritchie. (2006). Tourism, Practice, Philosophies. (10
th
eds.) New
York: John Wiley & Sons, Inc.
Green Zone Thailand. การท่องเที่ยวแบบยั่งยืน. October 23,2008. From : www.greenzonethailand.com
Longman. (1987). Longman Dictionary Of Contemporary English China. World Pubilshing
Corporation.
Mc Intosh, R.W. and Goeldner, C.R. (1990). Tourism: Principles, Practice, Philosophies. (6
th
eds.) New York: John Wiley & Sons, Inc.
Weaver, David Bruce. (2000). Tourism Management. Australia: John Wiley & Sons Ltd.