ผลงานสร้างสรรค์ เดี่ยวซอสามสาย เพลงพญาครวญ

คลิปการบรรเลงเดี่ยวซอสามสาย เพลงพญาครวญ

อรรถาธิบายและบทวิเคราะห์เดี่ยวซอสามสาย เพลงพญาครวญ สามชั้น

            เดี่ยวซอสามสาย เพลงพญาครวญ สามชั้นนี้ ผู้เขียนได้นำเค้าโครงมาจากทางเดี่ยวซอสามสาย
ในสำนักหลวงไพเราะเสียงซอ (อุ่น ดูรยะชีวิน) ซึ่งหลวงไพเราะเสียงซอ (อุ่น ดูรยะชีวิน) ได้ถ่ายทอดให้แก่ครูเชวงศักดิ์ โพธิสมบัติ ต่อมาได้ถ่ายทอดให้ผู้เขียนเมื่อครั้นมาบันทึกวีดีทัศน์มรดกทางภูมิปัญญาของชาติ เมื่อวันที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2558 ต่อมาได้มีการจัดประกวดเดี่ยวซอสามสายในรายการ “ประลองเพลง ประเลงมโหรี” ลูกศิษย์ของผู้เขียนคนหนึ่งชื่อ นายพาสุข แววศรี ซึ่งได้เริ่มเรียน
ซอสามสายกับผู้เขียนตั้งแต่ปี พ.ศ. 2555 เมื่อครั้นศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนต้นที่โรงเรียน
เทพศิรินทร์ ผู้เขียนมองเห็นทักษะของลูกศิษย์ผู้นี้ว่า เป็นผู้ที่มีฝีมือ มีนิ้วมือซ้ายที่แข็งแรง มีมือขวา
ที่สามารถทำคันชักต่างๆ ได้เป็นอย่างดี มีสำเนียงซอที่ดี แต่ยังมีประสบการณ์ทางดนตรีที่ยังไม่มากนัก และมีความใจร้อนในบางครั้ง เนื่องจากผู้เขียนได้เริ่มฝึกหัดซอสามสายให้ลูกศิษย์คนนี้ ด้วยระเบียบวิธีแบบสำนักหลวงไพเราะเสียงซอ (อุ่น ดูรยะชีวิน) มาตั้งแต่ขั้นพื้นฐาน ผู้เขียนจึงเห็นว่า ในการประกวดครั้งนี้จึงสมควรใช้ทางเดี่ยวในสำนักหลวงไพเราะเสียงซอ (อุ่น ดูรยะชีวิน) ซึ่งเมื่อได้สอบถามไปยัง
ครูเชวงศักดิ์ โพธิสมบัติแล้ว ท่านก็มีความเห็นว่าสมควร และได้บอกกับผู้เขียนว่า “ขอให้อนุรักษ์
ทางครูเอาไว้ สีให้ได้ อย่าไปเปลี่ยนอะไรของท่านมากนะ แต่ถ้าเด็กทำไม่ได้ก็ตัดลูกนั้นออก แต่จริงๆ
แล้วก็ควรทำให้ได้นะ” (เชวงศักดิ์ โพธิสมบัติ, สัมภาษณ์, 26 กันยายน 2559) อนึ่ง ในการประกวด
ครั้งนี้ ผู้เขียนเห็นว่าเป็นการประกวดที่เข้มข้น เนื่องจากมีนักเรียนที่มีทักษะ และมีฝีมือจากทั่วประเทศในการแข่งขันครั้งนี้ จึงได้นำความรู้ในการบรรเลงเพลงเดี่ยวซอสามสายที่ได้รับการถ่ายทอดจาก
ครูเชวงศักดิ์ โพธิสมบัติ มาเรียบเรียงบางส่วน เพื่อรักษาทางเพลงซึ่งครูเชวงศักดิ์ โพธิสมบัติได้ฝากเอาไว้ให้มากที่สุด โดยวิธีการเรียบเรียงผลงานนั้น ผู้เขียนจะนำเสนอเป็นอรรถาธิบายประกอบบทวิเคราะห์ดังนี้

            การขึ้นต้นเพลงที่ได้รับการถ่ายทอดมาจากครูเชวงศักดิ์ โพธิสมบัติ มีทำนองดังนี้

 

-ทลซ –ลท
– ดํ – รํ
– – – ดํ
ทดํรํดํ —ท
– ล รํ ล
ทลซ ทลซ -ลท
– ล – ท
ดํ-รํดํท-ดํรํ
 

            ซึ่งเมื่อผู้เขียนนำมาเรียบเรียง ผู้เขียนจึงเพิ่มเติมรายละเอียดของนิ้วเข้าไป โดยเพิ่มเติมทำนองในส่วนของการเอื้อนในห้องที่ 6 และห้องที่ 8 ดังนี้

 

-ทลซ –ลท
– ดํ – รํ
– – – ดํ
ทดํรํดํ—ท
– ล รํ ล
ทลซล ทลซ ลท
– ล – ท
ดํ-รํดํทดํ รํดํท-ดํรํ
 

 

 

           ในการวิเคราะห์เพลงพญาครวญ สามชั้นในครั้งนี้ ผู้เขียนจะใช้การแบ่งวรรคของเพลงพญาครวญตามรูปแบบของรองศาสตราจารย์พิชิต ชัยเสรี ซึ่งได้แบ่งเป็น 3 วรรค ดังนี้

ทำนองหลักวรรค 1

– – – –
– ท – ท
– รํ – ท
– ล – ซ
– ม – –
ร ร – –
ซ ซ – –
ล ล – ท
– – – ทฺ
– – – –
– ร – ทฺ
– ลฺ – ซฺ
– ทฺ – ลฺ
– – – ซฺ
– – – ลฺ
– – – ทฺ
 

– ม – –
ร ทฺ – –
– – – ซฺ
– – ลฺ ทฺ
– ด – ร
ม ร – –
– – ลฺ ทฺ
ด – ร ร
– – ร ทฺ
– – ลฺ ซฺ
– รฺ – –
– ซฺ – –
– ซฺ – –
– – ด ทฺ
ลฺ ซฺ – –
– รฺ – –
 

– ล – ล
– – ฟ –
– – – ร
– – – มฟ
– – ล ท
รํ ท – –
– ท – –
ล ฟ – –
– – – ฟ
– – – มร
– ลฺ – –
– – ร –
– ฟ – –
– – ล ฟ
– – ล ฟ
– – ม ร

– – ร ม
– ซ – –
– ซ – –
ม – – –
ซ ซ – –
ล ล – –
ท ท – –
ดํ ดํ – รํ
– ด – –
– – – ร
– ด – –
– รด – ซฺ
 – – – ลฺ
 – – – ทฺ
– – – ด
– – – ร
 

ทำนองหลักวรรค 2

– – – –
– ท – ท
– รํ – ท
– ล – ซ
– ม – –
ร ร – –
ซ ซ – –
ล ล – ท
– – – ทฺ
– – – –
– ร – ทฺ
– ลฺ – ซฺ
– ทฺ – ลฺ
– – – ซฺ
 – – – ลฺ
 – – – ทฺ
 

  – ม – –
  ร ทฺ – –
  – – – ซฺ
  – – ลฺ ทฺ
  – ด – ร
  ม ร – –
  – – ลฺ ทฺ
  – – ด ร
  – – ร ทฺ
  – – ลฺ ซฺ
  – รฺ – –
  – ซฺ – –
  – ซฺ – –
  – – ด ทฺ
  ลฺ ซฺ – –
  ลฺ ทฺ – –
 

  – – รํ รํ
  – – รํ รํ
  – – รํ รํ
  – – รํ รํ
  – มํ – มํ
  – รํ – –
  ท ท – –
  ล ล – ซ
  – ร – –
  – ร – –
  – ร – –
  – ร – –
  – ซ – ม 
  – ร – ทฺ
   – – – ลฺ
   – – – ซ.
 

  – – ล ล
  – ท – ล
  – ซ – ม
  – ร – ซ
  – ท ล ซ
  – ร – –
  ซ ซ – –
  ล ล – ท
  – ลฺ – –
  – ทฺ – ลฺ
  – ซฺ – ทฺ
  – ลฺ – ซฺ
  – ทฺ ลฺ ซฺ
  – ลฺ – ซฺ
   – – – ลฺ
   – – – ทฺ
 

 

 

ทำนองหลักวรรค 3

  – – รํ รํ
  – – รํ รํ
  – มํ – มํ
  – รํ – ซ
  – ท ล ซ
  – ร – –
  ซ ซ – –
  ล ล – ท
  – ร – –
  – ร – –
  – ซ – ม
  – ร – ซฺ
  – ทฺ ลฺ ซฺ
  – ลฺ – ซฺ
   – – – ลฺ
   – – – ทฺ
 

  – ม – –
  ร ทฺ – –
  – – – ซฺ
  – – ลฺ ทฺ
  – ด – ร
  ม ร – –
  – – ลฺ ทฺ
  – – ด ร
  – – ร ทฺ
  – – ลฺ ซฺ
  – รฺ – –
  – ซฺ – –
  – ซฺ – –
  – – ด ทฺ
  ลฺ ซฺ – –
  ลฺ ทฺ – –

– ล – ล
– – ฟ –
– – – ร
– – – มฟ
– – ล ท
รํ ท – –
– ท – –
ล ฟ – –
– – – ฟ
– – – มร
– ลฺ – –
– – ร –
– ฟ – –
– – ล ฟ
– – ล ฟ
– – ม ร
 

  – – มํ มํ
 – มํ – –
  รํ รํ – –
  ดํ ดํ – –
  ซ ซ – –
  ล ล – –
  ท ท – –
  ดํ ดํ – รํ
  – ม – –
  – ซ – ร
  – – – ด
  – – – ซฺ
  – – – ลฺ
  – – – ทฺ
   – – – ด
   – – – ร
 

            ทำนองทางเดี่ยวซอสามสาย เพลงพญาครวญในวรรคที่ 1 นั้น ผู้เขียนได้เรียบเรียงโดยอนุรักษ์ทางเพลงของสำนักหลวงไพเราะเสียงซอ (อุ่น ดูรยะชีวิน) ให้มากที่สุด โดยได้เรียบเรียงโน้ตทำนอง
ได้ดังนี้

 

– – – ท
—- -ททท
– รํ – ท
ลซทล รํทลซ
– – ซ ม
รทฺรม -ร-ซ
– – รํ ล
-ทลซ ทลรํท
– ล – ท
-รํดํท –ดํรํ
– – – ดํ
ทดํรํดํ —ท
– ล รํ ล
ทลซล ทลซ ลท
– ล – ท
ดํรํดํท ดํรํดํท
–ดํรํ -รมฟ
ลทลรํ —ร
– – ล ม
-ฟมร ฟมลฟ
– – – –
– ม – ฟ
–มฟ –ซฟ
-มรด มร-ร
-มรด –รม
-ซฟซ ลซ-ร
–มร –ซร
-มรด –ดทฺ
-ลฺทฺลฺ -ลฺ-ร
– ลฺ – ท
ดทฺลฺทฺ -ด-ฟ
-มรด มร-ร
 

            ซึ่งในทำนองที่เรียบเรียงดังกล่าวนั้น แตกต่างจากทางเพลงที่ครูเชวงศักดิ์ โพธิสมบัติได้ถ่ายทอดให้ดังนี้

 

– – – ท
—- -ททท
– รํ – ท
ลซทล รํทลซ
– – ซ ม
รทฺรม -ร-ซ
– – รํ ล
ทลซ ทลซ ลท
– ล – ท
-รํดํท –ดํรํ
– – – ดํ
ทดํรํดํ —ท
– ล รํ ล
ทลซล  –ลท
– ล – ท
ดํรํดํท ดํรํดํท
–ดํรํ -รมฟ
ลทลรํ —ร
– – ล ม
-ฟมร ฟมลฟ
– – – –
– ม – ฟ
–มฟ -มซฟ
-มรด มร-ร
-มรด –รม
-ซฟซ ลซ-ร
–มร –ซร
ซร -มรด -ทฺ
-ลฺทฺลฺ -ลฺ-ร
– ลฺ – ท
ดทฺลฺทฺ —ด
-มรด มร-ร
           

            ในวรรคที่ 1 นี้ จะเห็นได้ว่า ผู้เขียนพยายามรักษาทางของหลวงไพเราะเสียงซอ (อุ่น ดูรยชีวิน) ให้ใกล้เคียงกับของเดิมที่สุด แต่ได้เพิ่มเติมทำนอง 1 ที่ คือในห้องที่ 6 บรรทัดที่ 2 ได้เติมเสียงเอื้อน
ลงไปอีกหนึ่งครั้ง เนื่องจากผู้บรรเลงบรรเลงเสียงเอื้อนนี้ได้ดี ได้ช่องไฟเหมาะสมกับอารมณ์เพลง แต่ใน
ห้องที่ 4 บรรทัดที่ 4 นั้น ผู้บรรเลงไม่เข้าใจจังหวะและสำเนียงการเอื้อน ผู้เขียนจึงได้เรียบเรียง
เป็นทางเรียบๆ  

            สำหรับในวรรคที่ 2 นั้น ผู้เขียนได้เรียบเรียงทำนองดังนี้

 

– – – ซ
-ทลซ –ลท
– รํ – ท
ลซทล รํทลซ
– – ซ ม
รทฺรม -ร-ซ
– – รํ ล
-ทลซ –ลท
– – – ล
-ทลซ ทล-รํ
– – – ดํ
ทดํรํดํ —ซ
– ฟ – ล
ดํซลซ -ลซฟ
-ม-ฟ –ซฟ
-มรด -รมร
– – – –
– – – ร
-มรด –รม
–รด -รมร
– ล ซ ม
ซรมร –รํท
– รํ – ท
ลซทล รํทลซ
– – – ซ
ฟซลซ –ซม
– ซ – ม
ซรมร ม ลซมซ
—- -ลซม
– ซ – ล
-ทลรํ –รํซ
-ทลซ –ลท
 

            ซึ่งทางที่ได้รับการถ่ายทอดมาจากครูเชวงศักดิ์ โพธิสมบัติ มีทำนองดังนี้

 

– – – ซ
-ทลซ –ลท
– รํ – ท
ลซทล รํทลซ
– – ซ ม
รทฺรม -ร-ซ
– – รํ ล
ทลซ ทลซ ลท
– – – ล
-ทลซ ทล-รํ
– – – ดํ
ทดํรํดํ —ซ
– ฟ – ล
ดํซลซ -ลซฟ
-ม-ฟ –ซฟ
-มรด -รมร
– – – ร
– – – ด
—- –รฟ
ซฟ-มรด-ร
– ล ซ ม
ซรมร —ท
– รํ – ท
ลซทล รํทลซ
– – – ซ
ฟซลซ –ซม
– ซ – ม
ซรมร —ซ
—- -ลซม
– ซ – ล
-ทลรํ –รํซ
-ทลซ ทลรํท
          

           สำหรับในวรรคที่ 2 นี้ จะเห็นว่าผู้เขียนได้เรียบเรียงทำนองในห้องที่ 8 บรรทัดที่ 1
ให้มีทำนองที่เรียบกว่าในทางที่ได้รับการถ่ายทอดมา เนื่องจากทักษะและความเข้าใจของผู้บรรเลงนั้น
ยังไม่มีเพียงพอต่อการใส่กลวิธีนี้ ในส่วนของห้องที่ 1-6 ในบรรทัดที่ 3 นั้น ผู้เขียนจงใจทำให้มีเสียงยาวๆ นิ่งๆ เพื่อแสดงให้เห็นถึงอารมณ์คร่ำครวญ นิ่งนึกถึงความหลัง เป็นความเงียบที่ไม่มีการสะอึก สะอื้น เป็นห่วงแห่งความระลึกถึงวันเก่าๆและความหลัง ก่อนที่จะเริ่มส่งอารมณ์สู่การเสียน้ำตา และสภาวะของความโศกสลด สะอึก สะอื้น คร่ำครวญในวรรคต่อไป

            ในส่วนของห้องที่ 4 บรรทัดที่ 4 นั้น ผู้เขียนได้เพิ่มเติมทำนองลงไป ซึ่งเป็นกลวิธีที่ผู้เขียนสังเกตเห็นจากการบรรเลงเมื่อเวลาครูเชวงศักดิ์ โพธิสมบัติสีเล่นๆ หรือเวลาเผลอ ท่านจะสีลูกนี้เพิ่มเติมเข้ามา ผู้เขียนจึงได้จดจำหรือที่โบราณาจารย์เรียกว่า “ครูพักลักจำ” มา และนำมาเรียบเรียงในครั้งนี้

           สำหรับในวรรคที่ 3 นั้นผู้เขียนได้เรียบเรียงทำนองดังนี้

 

 

– – – รํ
—- -รํรํรํ
– ซํ – มํ
ซํรํมํรํ –รํซ
—- -ลซม
– ซ – ล
-ทลรํ –รํซ
-ทลซ –ลท
– ล – ท
-รํดํท –ดํรํ
– – – ดํ
ทดํรํดํ —ท
– ล รํ ล
ทลซล ทลซ ลท
– ล – ท
ดํ-รํดํทดํ รํดํท
–ดํรํ —รํ
– – – รํ
–ลํมํ ฟํมํรํมํ
ฟํมํลํฟํ —ฟํ
– – – –
– มํ – ฟํ
– ลํ – ฟํ
-มํรํซํ มํรํ-รํ
– – – มํ
ซํ ลํ ซํ รํ
–มํรํ –ซํรํ
-มํรํดํ —ซ
– ร – ซ
-ทลซ –ลท
– ล – ท
ดํรํดํท ลซ-รํ
 

            ซึ่งทางที่ได้รับการถ่ายทอดมาจากครูเชวงศักดิ์ โพธิสมบัติ มีทำนองดังนี้

 

– – – รํ
—- -รํรํรํ
– ซํ – มํ
ซํรํมํรํ –รํซ
—- -ลซม
– ซ – ล
-ทลรํ –รํซ
-ทลซ –ลท
– ล – ท
-รํดํท –ดํรํ
– – – ดํ
ทดํรํดํ -รํดํท
– ล รํ ล
ทลซล ทลซ ลท
– ล – ท
—ดํ -รํดํท
–ดํรํ —รํ
– – – รํ
—- -ฟํมํรํ
ฟํมํลํฟํ —ฟํ
– – – –
– มํ – ฟํ
มํฟํมํฟํ มํฟํลํฟํ
—- -ฟํมํรํ
– – – มํ
ซํ ลํ ซํ รํ
–มํรํ –ซํรํ
-มํรํดํ —ซ
– ร – ซ
-ทลซ –ลท
– ล – ท
ดํรํดํท ลซ-รํ
          

           สำหรับในวรรคที่ 3 นี้ ในห้องที่ 4 บรรทัดที่ 2 นั้น ผู้เขียนได้เรียบเรียงให้มีทำนองเรียบๆ
ตามทักษะของผู้บรรเลง แต่ในห้องที่ 8 บรรทัดที่ 2 นั้น ได้เพิ่มเติมการใช้นิ้วก้อยเข้าไป เนื่องจาก
ผู้บรรเลงสามารถบรรเลงลูกนี้ได้ดี ในส่วนของห้องที่ 2-8 บรรทัดที่ 3 นั้นผู้เขียนได้เรียบเรียงขึ้น
โดยมีแนวคิดว่า ใน 4 ห้องแรกนั้น คือการคร่ำครวญ สะอึกสะอื้นรำพันความ ซึ่งผู้เขียนได้เพิ่มโน้ตลงไป
ให้มากกว่าทางที่ได้รับถ่ายทอดมา ส่วนใน 4 ห้องท้ายนั้น ผู้เขียนตีความว่าเป็นการตั้งตัว นึกขึ้นได้ว่า
ไม่ควรโศกสลดมากเกินไปยังมีเรื่องดีๆ อีกมากที่จะได้พูดคุยกัน จึงได้ทำโน้ตให้มีความห่าง จาว ชัด เพื่อให้การแสดงความรู้สึกดังกล่าวแสดงออกผ่านเสียงเพลง ซึ่งเมื่ออธิบายให้ผู้บรรเลงฟัง ผู้บรรเลง
ก็เกิดความเข้าใจและพยายามบรรเลงให้เข้าถึงอารมณ์นั้น ในส่วนของทางเก็บนั้น ผู้เขียนได้เรียบเรียงทางเพลงดังต่อไปนี้  

 

– – – ท
—- -ททท
– รํ – ท
– ล – ซ
ฟ ม ร ลฺ
ร ม ฟ ซ
ฟ ม ร ม
ฟ ซ ล ท
รํ ท ล รํ
ซ ท ล ซ
ฟ ม ร ม
ฟ ซ ล ท
ล ท ดํ รํ
ดํ ท ล ท
ซ ท ล ท
-ดํ-รํ -รํรํรํ
ม ร ด ทฺ
ลฺ ทฺ ดฺ รฺ
ม ร ด ร
ม ฟ ซ ล
ซ ดํ ฟ ล
ซ ฟ ม ฟ
ม ร ด ฟ
ซ ฟ ม ร
ดํ ล ซ ม
ร ม ซ ร
ม ซ ด ร
-มรด –ซ
-ทลซ -ร-ซ
ล ท ล ท
ซ ท ล ท
-ดํ-รํ -รํรํรํ
ฟ ม ร รํ
ดํ ท ล ดํ
ท ล ซ ท
ล ซ ฟ ซ
ฟ ม ร ม
ซ ม ล ซ
ท ล ซ ล
ท ล รํ ท
รํ ล ท รํ
ซ ท ล ซ
ฟ ม ร ม
ฟ ซ ล ท
ล ท ดํ ซ
ล ท ดํ ฟ
ซ ล ท ม
ฟ ซ ล ร
– ม ร ด
ร ม ร ซ
ฟ ม ร ด
ร ม ร ร
ซ ม ร ทฺ
ร ซ ม ร
ท ล ซ ม
รํ ท ล ซ
ม ล ซ ม
ร ม ซ ล
ท ล ซ ล
รํ ท ล ซ
ฟ ม ร ม
ฟ ซ ล ฟ
ซ ล ท ล
รํ ซ ล ท
รํ ท ล ท
รํ มํ รํ รํ
ซ ม ร ม
ซ ล ซ ซ
ล ซ ม ซ
ล ท ล ล
ท ล ซ ล
ท รํ ท ท
รํ ซ รํ ท
รํ ล รํ ซ
รํ ท รํ ล
รํ ซ รํ ท
ล ท ดํ รํ
ดํ ท ล ท
ซ ท ล ท
-ดํ-รํ -รํรํรํ
ล ล ล ท
ล ฟ ม ร
ด ทฺ ลฺ ทฺ
ด ร ม ฟ
ล ท ดํ รํ
ดํ ท ล –
ฟ – ม ล
ร ฟ ม ร
– ม – ซ
– ม – ร
–มร –ซร
-มรด —ซ
– ร – ล
-ทลซ –ลท
– ล – ท
ดํรํดํท ลซ-รํ
 

            ซึ่งทางที่ผู้เขียนได้รับการถ่ายทอดมานั้นคือ

 

– – – ท
—- -ททท
รํ ล ท รํ
ซ ท ล ซ
ฟ ม ร ม
ซ ม ล ซ
ท ล ซ ล
ท ล รํ ท
รํ ท ล รํ
ซ ท ล ซ
ฟ ม ร ม
ฟ ซ ล ท
ล ท ดํ รํ
ดํ ท ล ท
ซ ท ล ท
-ดํ-รํ -รํรํรํ
ม ร ด ทฺ
ลฺ ทฺ ดฺ รฺ
ม ร ด ร
ม ฟ ซ ล
ซ ดํ ฟ ล
ซ ฟ ม ฟ
ม ร ด ฟ
ซ ฟ ม ร
ดํ ล ซ ม
ร ม ซ ร
ม ซ ด ร
ม ร ด ซ
-ทลซ -ร-ซ
ล ท ล ท
ซ ท ล ท
-ดํ-รํ -รํรํรํ
ฟ ม ร รํ
ดํ ท ล ดํ
ท ล ซ ท
ล ซ ฟ ซ
ฟ ม ร ม
ซ ม ล ซ
ท ล ซ ล
ท ล รํ ท
รํ ล ท รํ
ซ ท ล ซ
ฟ ม ร ม
ฟ ซ ล ท
ล ท ดํ ซ
ล ท ดํ ฟ
ซ ล ท ม
ฟ ซ ล ร
– ม ร ด
ร ม ร ซ
ฟ ม ร ด
ร ม ร ร
ซ ม ร ทฺ
ล ซ ม ร
ท ล ซ ม
ซ ท ล ซ
ม ล ซ ม
ร ม ซ ล
ท ล ซ ล
รํ ท ล ซ
ฟ ม ร ม
ฟ ซ ล ฟ
ซ ล ท ล
รํ ซ ล ท
รํ ท ล ท
รํ มํ รํ รํ
ซ ม ร ม
ซ ล ซ ซ
ล ซ ม ซ
ล ท ล ล
ท ล ซ ล
ท รํ ท ท
รํ ซ รํ ท
รํ ล รํ ซ
รํ ท รํ ล
รํ ซ รํ ท
ล ท ดํ รํ
ดํ ท ล ท
ซ ท ล ท
-ดํ-รํ -รํรํรํ
ล ล ล ท
ล ฟ ม ร
ด ทฺ ลฺ ทฺ
ด ร ม ฟ
ล ท ดํ รํ
ดํ ท ล –
ฟ – ม ล
ร ฟ ม ร
– ม – ซ
– ม – ร
–มร –ซร
-มรด —ซ
– ร – ล
-ทลซ –ลท
– ล – ท
ดํรํดํท ลซ-รํ
           

            ผู้เขียนยังได้ศึกษาเสียงบันทึกจากเทปเพลงเก่าที่อยู่ในตู้ของอาจารย์ณัฐวิภา มูลธรรมเกณฑ์ หรืออาจารย์เม้ง ลูกศิษย์คนสำคัญคนหนึ่งของอาจารย์เจริญใจ สุนทรวาทินซึ่งท่านได้เก็บตลับเทป (Compact cassette) ไว้ในตู้ส่วนตัวของท่าน ซึ่งเมื่อท่านเสียชีวิต ได้มอบไว้เป็นสมบัติของโรงเรียนจิตรลดา ซึ่งผู้เขียนก็ได้ฟังการบรรเลงเดี่ยวซอสามสาย เพลงพญาครวญ โดยหลวงไพเราะเสียงซอ
(อุ่น ดูรยะชีวิน) และสามารถถอดเป็นโน้ตเพลงได้ดังนี้

 

– – – ท
—- -ททท
– รํ – ท
– ล – ซ
ฟ ม ร ลฺ
ร ม ฟ ซ
ฟ ม ร ม
ฟ ซ ล ท
ซ ล ท ล
รํ ท ล ซ
ฟ ม ร ม
ฟ ซ ล ท
ล ท ดํ รํ
ดํ ท ล ท
ซ ท ล ท
-ดํ-รํ -รํรํรํ
ม ร ด ทฺ
ลฺ ทฺ ดฺ รฺ
ม ร ด ร
ม ฟ ซ ล
ซ ดํ ฟ ล
ซ ฟ ม ฟ
ม ร ด ร
ซ ฟ ม ร
ดํ ล ซ ม
ร ม ซ ร
ม ซ ด ร
ม ร ด ซ
-ทลซ -ร-ซ
ล ท ล ท
ซ ท ล ท
-ดํ-รํ -รํรํรํ
ฟ ม ร รํ
ดํ ท ล ดํ
ท ล ซ ท
ล ซ ฟ ซ
ฟ ม ร ม
ฟ ซ ล ฟ
ซ ล ท ล
รํ ซ ล ท
ซ ล ท ล
รํ ท ล ซ
ฟ ม ร ม
ฟ ซ ล ท
ล ท ดํ ซ
ล ท ดํ ฟ
ซ ล ท ม
ฟ ซ ล ร
ซ ม ร ด
ร ม ร ซ
ฟ ม ร ด
ร ม ร ร
ซ ม ร ทฺ
ร ซ ม ร
ท ล ซ ม
ซ ท ล ซ
ม ล ซ ม
ร ม ซ ล
ท ล ซ ล
รํ ท ล ซ
ฟ ม ร ม
ฟ ซ ล ฟ
ซ ล ท ล
รํ ซ ล ท
รํ ท ล ท
รํ มํ รํ รํ
ซ ม ร ม
ซ ล ซ ซ
ล ซ ม ซ
ล ท ล ล
ท ล ซ ล
ท รํ ท ท
รํ ซ รํ ท
รํ ล รํ ซ
รํ ท รํ ล
รํ ซ รํ ท
ล ท ดํ รํ
ดํ ท ล ท
ซ ท ล ท
-ดํ-รํ -รํรํรํ
ล ล ล ท
ล ฟ ม ร
ด ทฺ ลฺ ทฺ
ด ร ม ฟ
ล ท ดํ รํ
ดํ ท ล –
ฟ – ม ล
ร ฟ ม ร
– ม – ซ
– ม – ร
–มร –ซร
-มรด —ซ
– ร – ล
-ทลซ –ลท
– ล – ท
ดํรํดํท ลซ-รํ
          

           จากโน้ตเพลงข้างต้นจะเห็นว่า ในห้องที่ 4 บรรทัดที่ 3 นั้น ผู้เขียนได้เปลี่ยนวิธีการบรรเลง
ซึ่งเป็นการบรรเลงแบบเก็บ เป็นการบรรเลงให้มีการเอื้อนเสียง เนื่องจากผู้เขียนมีความคิดเห็นว่า
หากเอื้อนเสียงจะทำให้เกิดความน่าฟังและเข้ากับอารมณ์เพลงมากขึ้น ซึ่งในทางพันนี้ ผู้เขียนตีความว่า
เป็นอารมณ์ของความยินดี หลังจากความโศกสลดนั้นผ่านพ้นไป เปรียบเสมือนฟ้าที่สดใสหลังจากฝนตก แต่ในขณะหนึ่งนั้นยังมีความโศกสลด สะอึกสะอื้น ความกลัวกังวลที่จะไม่ได้พบกันอีกระคนอยู่ด้วย
จึงได้เรียบเรียงทำนองในช่วงนี้ให้มีการเอื้อนเสียง เพื่อสื่ออารมณ์เพลง

            ในห้องที่ 5 – 8 ของบรรทัดที่ 1 บรรทัดที่ 5 และบรรทัดที่ 8 นั้น จะพบว่าเป็นทำนองสารัตถะเดียวกันคือ ทำนองสารัตถะว่า

 

– – – ร
– – – ซ
– – – ล
– – – ท
 

            ซึ่งครูเชวงศักดิ์ โพธิสมบัติ จะดำเนินทำนองซ้ำกันในบรรทัดที่ 1 และ 5 ส่วนหลวงไพเราะเสียงซอ (อุ่น ดูรยะชีวิน) จะดำเนินทำนองซ้ำกันในบรรทัดที่ 5 และ 8 ซึ่งผู้เขียนคิดว่าในการเรียบเรียงครั้งนี้
จะไม่ให้กลอนซ้ำกัน จึงเลือกใช้บรรทัดที่ 1 ตามหลวงไพเราะเสียงซอ บรรทัดที่ 5 ตามครูเชวงศักดิ์
โพธิสมบัติ และบรรทัดที่ 8 เป็นที่น่าสังเกตว่าหลวงไพเราะเสียงซอและครูเชวงศักดิ์ โพธิสมบัติ
บรรเลงเหมือนกัน จึงอนุรักษ์ทำนองนี้เอาไว้ อนึ่ง เมื่อผู้เขียนพึงสังเกต การสีซอของครูเชวงศักดิ์
โพธิสมบัติ พบว่า ในบางครั้งครูเชวงศักดิ์ก็บรรเลงกลอนเพลงอีกรูปแบบหนึ่งโดยเป็นการสลับ เช่น
ในบางครั้งบรรเลง กลอนในบรรทัดที่ว่า 5 และ 8 ซ้ำกันดังนี้

 

 

 

– – – ท
—- -ททท
รํ ล ท รํ
ซ ท ล ซ
ฟ ม ร ม
ซ ม ล ซ
ท ล ซ ล
ท ล รํ ท
รํ ท ล รํ
ซ ท ล ซ
ฟ ม ร ม
ฟ ซ ล ท
ล ท ดํ รํ
ดํ ท ล ท
ซ ท ล ท
-ดํ-รํ -รํรํรํ
ม ร ด ทฺ
ลฺ ทฺ ดฺ รฺ
ม ร ด ร
ม ฟ ซ ล
ซ ดํ ฟ ล
ซ ฟ ม ฟ
ม ร ด ฟ
ซ ฟ ม ร
ดํ ล ซ ม
ร ม ซ ร
ม ซ ด ร
ม ร ด ซ
-ทลซ -ร-ซ
ล ท ล ท
ซ ท ล ท
-ดํ-รํ -รํรํรํ
ฟ ม ร รํ
ดํ ท ล ดํ
ท ล ซ ท
ล ซ ฟ ซ
ฟ ม ร ม
ฟ ซ ล ฟ
ซ ล ท ล
รํ ซ ล ท
รํ ล ท รํ
ซ ท ล ซ
ฟ ม ร ม
ฟ ซ ล ท
ล ท ดํ ซ
ล ท ดํ ฟ
ซ ล ท ม
ฟ ซ ล ร
– ม ร ด
ร ม ร ซ
ฟ ม ร ด
ร ม ร ร
ซ ม ร ทฺ
ล ซ ม ร
ท ล ซ ม
ซ ท ล ซ
ม ล ซ ม
ร ม ซ ล
ท ล ซ ล
รํ ท ล ซ
ฟ ม ร ม
ฟ ซ ล ฟ
ซ ล ท ล
รํ ซ ล ท
รํ ท ล ท
รํ มํ รํ รํ
ซ ม ร ม
ซ ล ซ ซ
ล ซ ม ซ
ล ท ล ล
ท ล ซ ล
ท รํ ท ท
รํ ซ รํ ท
รํ ล รํ ซ
รํ ท รํ ล
รํ ซ รํ ท
ล ท ดํ รํ
ดํ ท ล ท
ซ ท ล ท
-ดํ-รํ -รํรํรํ
ล ล ล ท
ล ฟ ม ร
ด ทฺ ลฺ ทฺ
ด ร ม ฟ
ล ท ดํ รํ
ดํ ท ล –
ฟ – ม ล
ร ฟ ม ร
– ม – ซ
– ม – ร
–มร –ซร
-มรด —ซ
– ร – ล
-ทลซ –ลท
– ล – ท
ดํรํดํท ลซ-รํ
             

              ซึ่งปรากฏการณ์ดังกล่าวนี้ ผู้เขียนวิเคราะห์ว่าน่าจะเป็นประสบการณ์การบรรเลงของครูเชวงศักดิ์         โพธิสมบัติ ที่บรรเลงเพลงนี้มายาวนานหลายสิบปี จนทำให้บรรเลงเพลงพญาครวญนี้ได้อย่างไม่ต้องนึก ยังสามารถคิดทำนองต่างๆ สอดแทรกเข้าไป โดยไม่ทำให้เพลงเสียอัตลักษณ์ของสำนักได้อีกด้วย
ผู้เขียนจึงใช้ข้อสังเกตนี้มาเรียบเรียงทางเดี่ยวซอสามสาย เพลงพญาครวญ โดยไม่ให้เสีย
ลักษณะกลอนเพลงที่เป็นอัตลักษณ์ของสำนัก 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

เดี่ยวซอสามสาย เพลงพญาครวญ สามชั้น

อาจารย์สุรพงษ์ บ้านไกรทอง เรียบเรียงทางเดี่ยว

จากทางเดี่ยวซอสามสาย ในสำนักหลวงไพเราะเสียงซอ (อุ่น ดูรยะชีวิน)

ทางโอด

-ทลซ –ลท
– ดํ – รํ
– – – ดํ
ทดํรํดํ—ท
– ล รํ ล
ทลซล ทลซ ลท
– ล – ท
ดํ-รํดํทดํ รดท
–ดํรํ —ท
—- -ททท
– รํ – ท
ลซทล รํทลซ
– – ซ ม
รทฺรม -ร-ซ
– – รํ ล
-ทลซ ทลรท
– ล – ท
-รํดํท –ดํรํ
– – – ดํ
ทดํรํดํ —ท
– ล รํ ล
ทลซล ทลซ ลท
– ล – ท
ดํ-รํดํทดํ รดท
–ดํรํ -รมฟ
ลทลรํ —ร
– – ล ม
-ฟมร ฟมลฟ
– – – –
– ม – ฟ
–มฟ –ซฟ
-มรด มร-ร
-มรด –รม
-ซฟซ ลซ-ร
–มร –ซร
-มรด –ดทฺ
-ลฺทฺลฺ -ลฺ-ร
– ลฺ – ท
ดทฺลฺทฺ -ด-ฟ
-มรด มร-ร
– – – ซ
-ทลซ –ลท
– รํ – ท
ลซทล รํทลซ
– – ซ ม
รทฺรม -ร-ซ
– – รํ ล
-ทลซ –ลท
– – – ล
-ทลซ ทล-รํ
– – – ดํ
ทดํรํดํ —ซ
– ฟ – ล
ดํซลซ -ลซฟ
-ม-ฟ –ซฟ
-มรด -รมร
– – – –
– – – ร
-มรด –รม
–รด -รมร
– ล ซ ม
ซรมร –รํท
– รํ – ท
ลซทล รํทลซ
– – – ซ
ฟซลซ –ซม
– ซ – ม
ซรมร ม ลซมซ
—- -ลซม
– ซ – ล
-ทลรํ –รํซ
-ทลซ –ลท
– – – รํ
—- -รํรํรํ
– ซํ – มํ
ซํรํมํรํ –รํซ
—- -ลซม
– ซ – ล
-ทลรํ –รํซ
-ทลซ –ลท
– ล – ท
-รํดํท –ดํรํ
– – – ดํ
ทดํรํดํ —ท
– ล รํ ล
ทลซล ทลซ ลท
– ล – ท
ดํ-รํดํทดํ รดท
–ดํรํ —รํ
– – – รํ
–ลํมํ ฟํมํรํมํ
ฟํมํลํฟํ —ฟํ
– – – –
– มํ – ฟํ
– ลํ – ฟํ
-มํรํซํ มํรํ-รํ
– – – มํ
ซํ ลํ ซํ รํ
–มํรํ –ซํรํ
-มํรํดํ —ซ
– ร – ซ
-ทลซ –ลท
– ล – ท
ดํรํดํท ลซ-รํ
ทางพัน

– – – ท
—- -ททท
– รํ – ท
– ล – ซ
ฟ ม ร ลฺ
ร ม ฟ ซ
ฟ ม ร ม
ฟ ซ ล ท
รํ ท ล รํ
ซ ท ล ซ
ฟ ม ร ม
ฟ ซ ล ท
ล ท ดํ รํ
ดํ ท ล ท
ซ ท ล ท
-ดํ-รํ -รํรํรํ
ม ร ด ทฺ
ลฺ ทฺ ดฺ รฺ
ม ร ด ร
ม ฟ ซ ล
ซ ดํ ฟ ล
ซ ฟ ม ฟ
ม ร ด ฟ
ซ ฟ ม ร
ดํ ล ซ ม
ร ม ซ ร
ม ซ ด ร
-มรด –ซ
-ทลซ -ร-ซ
ล ท ล ท
ซ ท ล ท
-ดํ-รํ -รํรํรํ
ฟ ม ร รํ
ดํ ท ล ดํ
ท ล ซ ท
ล ซ ฟ ซ
ฟ ม ร ม
ซ ม ล ซ
ท ล ซ ล
ท ล รํ ท
รํ ล ท รํ
ซ ท ล ซ
ฟ ม ร ม
ฟ ซ ล ท
ล ท ดํ ซ
ล ท ดํ ฟ
ซ ล ท ม
ฟ ซ ล ร
– ม ร ด
ร ม ร ซ
ฟ ม ร ด
ร ม ร ร
ซ ม ร ทฺ
ร ซ ม ร
ท ล ซ ม
รํ ท ล ซ
ม ล ซ ม
ร ม ซ ล
ท ล ซ ล
รํ ท ล ซ
ฟ ม ร ม
ฟ ซ ล ฟ
ซ ล ท ล
รํ ซ ล ท
รํ ท ล ท
รํ มํ รํ รํ
ซ ม ร ม
ซ ล ซ ซ
ล ซ ม ซ
ล ท ล ล
ท ล ซ ล
ท รํ ท ท
รํ ซ รํ ท
รํ ล รํ ซ
รํ ท รํ ล
รํ ซ รํ ท
ล ท ดํ รํ
ดํ ท ล ท
ซ ท ล ท
-ดํ-รํ -รํรํรํ
ล ล ล ท
ล ฟ ม ร
ด ทฺ ลฺ ทฺ
ด ร ม ฟ
ล ท ดํ รํ
ดํ ท ล –
ฟ – ม ล
ร ฟ ม ร
– ม – ซ
– ม – ร
–มร –ซร
-มรด —ซ
– ร – ล
-ทลซ –ลท
– ล – ท
ดํรํดํท ลซ-รํ