บทคัดย่อ
วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสุขของนักศึกษาสาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ คณะวิทยาการจัดการ
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา 4 ชั้นปีปัจจัยที่มีผลต่อความสุขและวิธีการที่นักศึกษาสาขาวิชาการ
จัดการโลจิสติกส์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ใช้ในการจัดการเมื่อไม่มี
ความสุข เครื่องมือที่ใช้ ในการศึกษาเป็นแบบสอบถาม ประกอบด้วยข้อมูลส่วนบุคคล ดัชนีชี้วัดความสุขคนไทย
วิธีการจัดการเมื่อไม่มีความสุข และข้อเสนอแนะเพื่อให้มีความสุขเพิ่มขึ้น วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติไควสแควร์
สถิติวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว
ผลการวิจัยพบว่า นักศึกษาสาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราช
ภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ในชั้นปีที่ 1 มีคะแนนเฉลี่ยความสุขมากที่สุด รองมาคือชั้นปีที่ 4 ชั้นปีที่ 2 และชั้นปีที่
3 ตามล าดับของค่าคะแนน และพบความแตกต่างของคะแนนเฉลี่ยความสุขในแต่ละชั้นปีที่มีนัยส าคัญทางสถิติที่
ระดับ 0.05 วิธีการจัดการที่นักศึกษาสาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏ
บ้านสมเด็จเจ้าพระยา ใช้มากที่สุด 3 อันดับแรกเมื่อไม่มีความสุข คือ การยอมรับสภาพตนเอง การมองโลกในแง่ดี
และการปรึกษาเพื่อน
ค าส าคัญ : ความสุข นักศึกษาสาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
Abstract
This descriptive research aimed to study the happiness of logistics management
students, the Faculty of Management Science, Ban Somdejchaopraya Rajabhat University.
The population included logistics management students in years 1- 4. The factto happiness and the method to cope with the stress. The demographic data, Thai Mental
Health Indicator, the method to cope with unhappiness and the ways to boost up happiness
in this research by chi-square.
The study found that the significant differences in happiness scores among the four
years. The highest happiness level was the first-year students, followed by the fourth year,
the second and the third year respectively by according to each level is statistically
significant at level 05. The first three coping methods of unhappiness used included selfaccepting, optimistic and friend consulting.
keywords: happiness, logistics management students, BanSomdejchaopraya Rajabhat
University
บทน า
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่สิบสอง พ.ศ.2560-2564 ส่วนที่ 2 การประเมิน
สภาพแวดล้อมการพัฒนาประเทศ สถานการณ์และแนวโน้มภายในสถานการณ์และแนวโน้มของสังคมไทย
คุณภาพคนไทยทุกลุ่มวัยยังมีปัญหา โดยแต่ละกลุ่มวัยยังมีปัญหาส าคัญที่จะส่งผลต่อการยกระดับขีด
ความสามารถในการแข่งขันของประเทศไทยในอนาคตทั้งเรื่องพัฒนาการและสติปัญญาตั้งแต่วัยเด็ก การขาด
ทักษะความรู้ความสามารถที่ส่งผลต่อผลิตภาพแรงงานของประเทศ ปัญหาด้านสุขภาพในวัยผู้สูงอายุที่ส่งผล
ต่อภาระค่าใช้จ่ายภาครัฐ กลุ่มเด็กวัยเรียนมีปัญหาด้านความสามารถทางเชาว์ปัญญา (IQ) และความฉลาด
ทางอารมณ์(EQ) ส่วนวัยรุ่นมีปัญหาการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร โดยปี 2561 เด็กวัยเรียนมี IQ เฉลี่ยที่ 93.1
ซึ่งต่ ากว่าค่ากลางมาตรฐานสากล (IQ=100) ขณะที่ EQ ปี 2558 มีคะแนนเฉลี่ย 45.12 ซึ่งต่ ากว่าระดับปกติที่
50-100 คะแนนเนื่องจากปัญหาภาวะโภชนาการของแม่และเด็ก ปัจจัยทางเศรษฐกิจและสังคม การดูแลของ
ครอบครัว ส่งผลต่อพฤติกรรมทักษะการใช้ชีวิตที่ส่งผ่านไปสู่ช่วยวัยรุ่น โดยเฉพาะปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ที่ไม่
ปลอดภัยและไม่มีความรู้ในเรื่องการคุมก าเนิด โดยมีการคลอดจากวัยรุ่นหญิงอายุระหว่าง 14-19 ปี คิดเป็น
อัตรา 47.9 รายต่อประชากรวัยเดียวกันหนึ่งพันคน ในปี 2561 และยังพบว่าร้อยละ 12.8 คลอดลูกมากกว่า
หนึ่งคนหรือท้องซ้ าในขณะที่ยังไม่ถึง 20 ปี ซึ่งสภาพปัญหาดังกล่าวจะน าไปสู่แนวโน้มของการกลายเป็นแม่
เลี้ยงเดี่ยว การแต่งงานใหม่ขณะที่อายุยังน้อย ไม่มีความรู้และความพร้อมในการดูแลเด็ก ส่วนที่ 3
วัตถุประสงค์และเป้าหมายการพัฒนาในช่วงพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 วัตถุประสงค์ เพื่อวางรากฐานให้คนไทยเป็น
คนที่สมบูรณ์ มีคุณธรรมจริยธรรม มีระเบียบวินัย ค่านิยมที่ดี มีจิตสาธารณะ และมีความสุข โดยมีสุขภาวะ
และสุขภาพที่ดีครอบครัวอบอุ่น ตลอดจนเป็นคนเก่งที่มีทักษะความรู้ความสามารถและพัฒนาตนเองได้
ต่อเนื่องตลอดชีวิต เป้าหมายรวม คนไทยมีคุณลักษณะเป็นคนไทยสมบรูณ์ มีวินัย มีทัศนคติและพฤติกรรม
ตามบรรทัดฐานที่ดีของสังคม มีความเป็นพลเมืองตื่นรู้มีความสามารถในการปรับตัวได้อย่างรู้เท่าทัน สถานการณ์มีความรับผิดชอบและท าประโยชน์ต่อส่วนรวม มีสุขภาพกายและใจที่ดี มีความเจริญงอกงามทาง
จิตวิญญาณ มีวิถีชีวิตที่พอเพียง และมีความเป็นไทย
การใช้ชีวิตในมหาวิทยาลัยเป็นช่วงเวลาถึง 4 ปี จากการเป็นนักเรียนมาเป็นนักศึกษาเป็นช่วงที่
ต้องมีการปรับตัวอย่างมากกับการเปลี่ยนแปลด้านต่าง ๆ ในเรื่องการปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อม บรรยากาศ
การเรียนที่แตกต่างจากระดับมัธยมสู่ระดับอุดมส าหรับการเรียนรู้ การสร้างประสบการณ์ในการเรียนรู้ การอยู่
ร่วมกับผู้อื่นด้วยการได้ท างานร่วมกัน การกิจกรรมร่วมกัน การรับผิดชอบในการมอบหมายงานจากอาจารย์ใน
รายวิชาของสาขาฯและวิชาอื่น ๆ ด้วยเหตุนี้ จึงเป็นเรื่องที่ส าคัญและจ าเป็นของสาขาฯ คณะและมหาวิทยาลัย
ในการออกแบบการเรียน การท ากิจกรรมเสริมหลักสูตร การจัดสิ่งแวดล้อมและเอื้อต่อความสะดวกในการใช้
ชีวิต เป็นปัจจัยหนึ่งที่จะเสริมให้นักศึกษ ามีคุณภ าพ มีชีวิตที่ดีและส่งผลท าให้เกิดพลังความสุข
ความสร้างสรรค์ และคุณภาพของนักศึกษาสาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ ตลอดช่วงเวลาที่ได้ศึกษาใน
มหาวิทยาลัยนี้
ผู้วิจัยได้ศึกษาความสุขของนักศึกษาในสาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ คณะวิทยาการจัดการ
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา เล็งเห็นถึงความส าคัญของการมีความสุขในนักศึกษาวิชาสาขาการ
จัดการโลจิสติกส์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ทั้งนี้เพื่อเป็นประโยชน์ต่อ
การพัฒนาและการออกแบบระบบการจัดการให้เกิดผลและน าผลที่หาได้ต่อไป เพื่อน าผลมาใช้ต่อในการเรียน
การสอนและการอยู่อาศัยอย่างมีความสุขให้กับนักศึกษาได้อย่างเหมาะสมกับคณะวิทยาการ และเป็น
มหาวิทยาลัยของการสร้างความส าเร็จ “บ้านแห่งความส าเร็จ” และผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพให้กับสังคมต่อไป
วัตถุประสงค์การวิจัย
1. เพื่อศึกษาความสุขของนักศึกษาสาขาวิชาการจัดการการจัดการโลจิสติกส์ คณะวิทยาการ
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ปัจจัยที่มีผลต่อความสุขและวิธีการที่ นักศึกษาใช้ในการจัดการ
เมื่อไม่มีความสุข
2. เพื่อสร้างเครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามดัชนีชี้วัดความสุขคนไทยฉบับสั้น 15 ข้อ มาตรฐานของกรม
สุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข พัฒนาโดย อภิชัย มงคล และคณะในการประเมินภาวะความสุขของผู้ที่มี
อายุอยู่ในช่วง 15-60 ปี โดยประเมินเหตุการณ์อาการความเห็น ความรู้สึกของตนเอง และปัจจัยที่ท าให้สุขทุกข์ในระยะ 1 เดือนที่ ผ่านมา เป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า
วิธีการด าเนินงานวิจัย
ผู้วิจัยมีการศึกษาเป็นการวิจัยแบบบรรยาย (เชิงคุณภาพ)
ประชากร คือ นักศึกษาสาขาวิชาการจัดการการจัดการโลจิสติกส์ ชั้นปีที่ 1-4 ที่ลงทะเบียนเรียนใน
หลักสูตรบริหารธุรกิจ การจัดการโลจิสติกส์คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัย ราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
กลุ่มตัวอย่าง คือ นักศึกษาสาขาการจัดการการจัดการโลจิสติกส์ ชั้นปีที่ 1-4 ที่ลงทะเบียนเรียนในเครื่องมือ คือ แบบสอบถามดัชนีชี้วัดความสุขคนไทยฉบับสั้น 15 ข้อ ฉบับมาตรฐานของกรม
สุขภาพจิตกระทรวงสาธารณสุข พัฒนาโดย อภิชัย มงคล และคณะ โดยประเมินเหตุการณ์ อาการ ความ
คิดเห็น ความรู้สึก ของตนเอง และปัจจัยที่ท าให้สุข-ทุกข์ในระยะ 1 เดือนที่ ผ่านมาเป็นแบบมาตราส่วน
ประมาณค่า
การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมส าเร็จรูปทางสถิติ ได้แก่ การหาค่าความถี่ จ านวนร้อยละ ค่าเฉลี่ย
จ าแนกตามข้อส่วนบุคคล วิเคราะห์ความเกี่ยวข้องกันระหว่างปัจจัยที่มีผลต่อความสุข และวิธีการที่นักศึกษา
ใช้ในการจัดการเมื่อไม่มีความสุข ด้วยสถิติไควสแควร์ วิเคราะห์ความสุขของนักศึกษาสาขาวิชาการจัดการโลจิ
สติกส์ชั้น ปีที่ 1 = 89, ปีที่ 2 = 85, ปีที่ 3 = 89 และปีที่ 4 = 240 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัย
ราชภัฏบ้านสมเด็จ ด้วยสถิติวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว
ผลการวิจัย
1. คะแนนเฉลี่ยความสุขของนักศึกษาสาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ คณะวิทยาการจัดการ
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา พบว่านักศึกษาสาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์คณะวิทยาการ
จัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา พบว่า นักศึกษาสาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์คณะ
วิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ชั้นปีที่ 1 มีคะแนน เฉลี่ยความสุขมากที่สุด ที่มี
ค่า Mean = 33.35, SD = 4.18 ในขณะที่นักศึกษา ชั้นปีที่ 3 มีคะแนนเฉลี่ยความสุขต่ าที่สุด ที่มีค่า
Mean = 31.10, SD = 4.29
2. เปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยความสุขของนักศึกษาสาขาวิชาการ จัดการโลจิสติกส์
คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ในแต่ละชั้นปี พบว่ามีความแตกต่างกัน
อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ ระดับ 0.05 ได้ค่าดังนี้ F=11.23, df=3, p=0.000, R2=557.6 โดยพบว่า
คะแนนเฉลี่ยความสุขของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 และนักศึกษาชั้นปีที่ 4 ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญ แต่
แตกต่างอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติกับนักศึกษาชั้นปีที่ 4 ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญแต่แตกต่างอย่างมี
นัยส าคัญทางสถิติกับชั้นปีที่ 2 และชั้นปีที่ 3 และพบว่าคะแนนเฉลี่ยความสุขของนักศึกษาชั้นปีที่ 2 และชั้นปี
ที่ 3 ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ
3. ค่าคะแนนความสุขตามเกณฑ์ของกรมสุขภาพจิตพบว่า ในภาพรวมนักศึกษาสาขาวิชาการ
จัดการโลจิสติกส์คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ที่มีระดับความสุขน้อย
กว่าคนทั่วไปร้อยละ 8.8 เมื่อแยกเป็นชั้นปี พบว่า นักศึกษาชั้นปีที่ 3 มีจ านวนนักศึกษาที่มีระดับความสุข
น้อยกว่าคนทั่วไปมากที่สุด คือร้อยละ 3
4. ปัจจัยที่มีผลต่อความสุขของนักศึกษาสาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ คณะวิทยาการจัดการ
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติคือ การเลือกเรียนสาขาวิชาการ
จัดการโลจิสติกส์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ด้วยความสมัครใจ การมี
รายรับเพียงพอ ต่อการใช้จ่าย และมีสัมพันธภาพที่ดีกับรุ่นพี่ รุ่นน้องในสาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์
คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา 5. วิธีการที่นักศึกษาสาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้าน
สมเด็จเจ้าพระยา เมื่อไม่มีความสุข 5 อันดับแรก คือ การยอมรับสภาพตนเอง การมองโลกในแง่ดีการขอ
ค าปรึกษาจากเพื่อนในสาขาวิชาฯ การพยายามระงับสติอารมณ์และการหางานอดิเรกท าให้ตนเองผ่อนคลาย
อภิปรายผลการวิจัย
1. เมื่อเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยความสุขของนักศึกษาสาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ คณะวิทยาการ
จัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา พบว่านักศึกษาสาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์
คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ชั้นปีที่ 1 มีความเฉลี่ยความสุขมากที่สุด
คือ Mean=33.5, SD=4.18 ในขณะที่นักศึกษาชั้นปีที่ 3 มีคะแนนเฉลี่ยความสุขต่ าที่สุด คือ Mean=31.0,
SD=4.29 การศึกษาของวิจิตรา พูลเพิ่ม และชลลดา พันธุชิน พบว่านักศึกษาสาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์
คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา พบว่านักศึกษาสาขาวิชาการจัดการ
โลจิสติกส์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา พบว่านักศึกษาสาขาวิชาการ
จัดการโลจิสติกส์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา พบว่า นักศึกษาชั้นปีที่ 1
มีความรู้สึก ภาคภูมิใจและรู้สึกมีความมีคุณค่าในตนเองที่สามารถ สอบผ่านเข้ามาเป็นนักศึกษา ที่ได้ผลลัพธ์
คือ Mean=31.10, SD=4.29 มีความสัมพันธ์ภาคภูมิใจและรู้สึกมีคุณค่าในตนเองที่สามารถสอบผ่านเข้ามา
เป็นนักศึกษา น้องใหม่สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จ
เจ้าพระยา ได้และมีการปรับตัวโดยรวบรวมในระดับค่อนข้างดี จึงอาจเป็นไป ได้ว่าความรู้สึกภาคภูมิใจ
และรู้สึกมีคุณค่าในตนเองที่สามารถ คือ ค่าความรู้สึกมีความคุณค่าในตอนเองที่สามารถสอบผ่านเข้ามาเป็น
นักศึกษาสาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
มีการปรับตัวโดยรวมในระดับค่อนข้างดีจึงอาจเป็นไปได้ว่าความรู้สึกภาคภูมิใจและการที่สามารถปรับตัวได้
ท าให้รู้สึกเป็นสุข นอกจากนี้นักศึกษาสาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัย
ราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ในชั้นปีที่ 1 ยังไม่ต้องปรับตัวด้านการเรียนมากเท่ากับชั้นปีอื่น ๆ เพราะใน
ชั้นปีที่ 1 เป็นการเรียนวิชาพื้นฐานบังคับตาม หลักสูตรที่สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ คณะวิทยาการจัดการ
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ก าหนดเป็นส่วนใหญ่ และยังไม่ได้เข้าสู่วิชาชีพ จ าท าให้นักศึกษา
ชั้นปีที่ 1 มีความสุขมากกว่าชั้นปีอื่น ๆ
3. นักศึกษาสาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จ
เจ้าพระยา ในชั้นปีที่ 3 มีค่าคะแนนเฉลี่ยความสุขที่ต่ าที่สุด เนื่องจากเป็นไปได้ว่าชั้นปีที่ 3 เป็นชั้นปีที่มี
การเรียนการสอนค่อนข้างหนัก ทั้งภาคทฤษฏีและภาคปฏิบัติอาจหมายความว่า นักศึกษาต้องเรียน
ท ารายงาน และรายงานหน้าชั้นเรียนมากขึ้น ท าให้ไม่มีเวลาว่าง รวมถึงการเป็นส่วนตัวของนักศึกษาสาขาวิชา
การจัดการโลจิสติกส์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา จึงอาจมีผลต่อ
ความสุขของนักศึกษาสาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏ
บ้านสมเด็จเจ้าพระยาได้ เมื่อเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ย ความสุขของนักศึกษาสาขาวิชาการ
จัดการโลจิสติกส์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ในแต่ละชั้นปีพบว่า มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (F=11.23, df=3, p=0.000, R2=557.6)
โดยพบว่า ค่าคะแนนเฉลี่ยความสุขของนักศึกษาสาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ คณะวิทยาการจัดการ
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ในชั้นปีที่ 1 และชั้นปีที่ 4 ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญแต่
แตกต่างอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติกับนักศึกษาสาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์คณะวิทยาการจัดการ
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ในชั้นปีที่ 2 และชั้นปีที่ 3 และพบว่าค่าคะแนนเฉลี่ยความสุขของ
นักศึกษาสาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
ในชั้นปีที่ 2 และในชั้นปีที่ 3 ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติซึ่งการที่ไม่แตกต่างอาจเป็นไป
ได้ว่านักศึกษาสาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จ
เจ้าพระยา มีการเรียนการสอนที่ค่อนข้างหนักเหมือนกัน โดยชั้นปีที่ 2 เป็นชั้นปีที่เริ่มเข้าสู่เนื้อหาวิชาชีพ
เริ่มต้นเป็นครั้งแรก นักศึกษาสาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏ
บ้านสมเด็จเจ้าพระยา ยังไม่มีประสบการณ์ในเนื้อหามากพอ ก่อให้เกิดความกลัวต่อการท างานที่อาจเกิด
การผิดพลาดขึ้น ได้ต้องเผชิญกับงานต่าง ๆ ที่ยังไม่เคยได้ปฏิบัติจริง ต้องสร้างสัมพันธภาพกับผู้ร่วมงาน
อาจารย์ และเพื่อนนักศึกษาด้วยกัน นอกจากนี้นักศึกษาสาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ คณะวิทยาการจัดการ
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ต้องปรับตัวต่อสิ่งแวดล้อมใหม่และรายงานที่ต้องท าเพิ่มขึ้น
ส่งผลให้มีคะแนนเฉลี่ยความสุขน้อย เช่นเดียวกับชั้นปีที่ 3 และไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญ ผลการศึกษานี้
สอดคล้องกับการศึกษาที่ผ่านมาพบว่านักศึกษาสาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ คณะวิทยาการจัดการ
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา รู้สึกเครียดได้และสอดคล้องกับข้อเสนอแนะด้านการเรียนที่ได้
จากการศึกษาครั้งนี้ที่นักศึกษาเสนอแนะให้ปรับลดวิชาเรียน ในชั้นปีที่ 2 และให้เรียนชั้นปีที่ 1 พร้อมทั้ง
เสนอแนะ ให้ลดปริมาณรายงานลง ซึ่งชี้ให้เห็นว่าการเรียนการสอน ในชั้นปีดังกล่าวมีมากเกินไป ท าให้
นักศึกษาสาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
ไม่มีเวลาหรือเวลาในการพักผ่อนอย่างเพียงพอ
3. ค่าคะแนนความสุขตามเกณฑ์ของกรมสุขภาพจิตพบว่า ในภาพรวมนักศึกษาสาขาวิชาการ
จัดการโลจิสติกส์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา มีระดับความสุขน้อยกว่า
คนทั่วไปร้อยละ 8.8 เมื่อแยกเป็นชั้นปีพบว่า นักศึกษาสาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ คณะวิทยาการจัดการ
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา แยกเป็นชั้นปี พบว่านักศึกษาสาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์
คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา เป็นชั้นปีที่ 3 มีจ านวนนักศึกษาที่มีระดับ
ความสุขน้อยกว่าคนทั่วไปมากที่สุด (ร้อยละ 3) รองลงมาคือ ชั้นปีที่ 2 (ร้อยละ 2.7) ซึ่งมีความสอดคล้องกัน
กับคะแนนเฉลี่ยความสุขที่กล่าวมาแล้ว ทั้งนี้อาจเป็นเพราะในระหว่างที่ท าการศึกษาเป็นช่วงที่นักศึกษา
สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ทั้งชั้นปีที่ 2
และชั้นปีที่ 3 ต้องมีการเรียนการสอนทั้งในภาคทฤษฏีและภาคปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง นักศึกษาต้องใช้เวลา
ค่อนข้างมากในการศึกษาทั้งภาคทฤษฏีและภาคปฏิบัติไม่ว่าจะเป็นการท ารายงานกรณีศึกษาและกิจกรรม
อื่น ๆ ตามข้อหลักสูตรบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยมหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ในชั้นปีที่ 3 และชั้นปีที่ 2 มีจ านวนนักศึกษาสาขาวิชาการจัดการ
โลจิสติกส์ ที่มีค่าคะแนนค่าเฉลี่ยความสุขต่ ากว่าคนทั่วไปมากกว่าชั้นปีที่ 1 และชั้นปีที่ 4
4. ปัจจัยที่มีผลต่อความสุขของนักศึกษาสาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์คณะวิทยาการจัดการ
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยาอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ คือ การเลือกเรียนสาขาวิชาการจัดการ
โลจิสติกส์ด้วยการสมัครใจ การมีรายรับเพียงพอต่อค่าใช้จ่าย และการมีสัมพันธภาพที่ดีกับรุ่นพี่หรือ รุ่นน้อง
ในคณะวิทยาการจัดการ ทั้งนี้อธิบายได้ว่าการได้มาเรียนสาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ด้วยความสมัครใจ
เป็นสิ่งที่ท าให้นักศึกษาสาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จ
เจ้าพระยา ไม่รู้สึกว่าถูกบังคับให้ท าในสิ่งที่ตนเองไม่ชอบ จึงส่งผลให้รู้สึกมีความสุขมากกว่ากลุ่มที่เรียนด้วย
ความไม่สมัครใจและเนื่องจากนักศึกษาสาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์เป็นกลุ่มวัยรุ่นตอนปลายที่ต้องการการ
เป็นที่ยอมรับจากกลุ่มเพื่อนหรือคนรอบข้าง ดังนั้นการมีสัมพันธภาพที่ดีกับพ่อแม่ เพื่อนและอาจารย์ช่วยให้
นักศึกษารู้สึกว่ามีคนเข้าใจ มีที่ปรึกษาเมื่อมีปัญหา ท าให้เกิดความรู้สึกอบอุ่น สบายใจ จึงมีความรู้สึกเป็นสุข
มากกว่ากลุ่มที่มีสัมพันธภาพที่ไม่ดีสอดคล้องกับการศึกษาของวันเพ็ญ หวังวิวัฒน์เจริญ และสาระมุขดี ที่
พบว่าความสัมพันธ์ระหว่างนักศึกษากับบิดามารดาเพื่อน และพี่น้องและปัญหาด้านการเงิน เป็นปัจจัยที่
ก่อให้เกิดความเครียด
5. วิธีการที่นักศึกษาสาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้าน
สมเด็จเจ้าพระยา ใช้ในการจัดการเมื่อไม่มีความสุข 5 อันดับแรก คือ การยอมรับสภาพตนเอง การมองโลก
ในแง่ดี การขอค าปรึกษาจากเพื่อน การพยายามระงับสติอารณ์และการหางานอดิเรกท าให้ตนเองผ่อนคลาย
ชี้ให้เห็นว่านักศึกษาสาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จ
เจ้าพระยา ส่วนใหญ่ใช้วิธีการแก้ปัญหาแบบสร้างสรรค์และมีความเหมาะสม เพราะนักศึกษาเป็นวัยที่มีวุฒิ
ภาวะทางอารมณ์และมีความสามารถแยกแยะว่าอะไรถูกอะไรผิดจึงสามารถเลือกวิธีการจัดการที่เหมาะสมแก่
ตนเองได้
ข้อเสนอแนะจากการวิจัย
1. ด้านการเรียนการสอนนั้นนักศึกษาส่วนใหญ่สะท้อนว่าการเรียนการสอนโดยเฉพาะในชั้นปีที่ 2
หนักกว่าชั้นปีอื่น ๆ จึงอยากให้มีการปรับกิจกรรมและจ านวนรายงานกรณีศึกษาในชั้นปีดังกล่าวลดลงเพื่อให้
เกิดความสมดุล ทั้งนี้อธิบายได้ว่าการลดกิจกรรมลงจะช่วยให้นักศึกษาสาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ คณะ
วิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ในการผ่อนคลายมากขึ้น ในขณะเดียวกันการ
ฝึกงานกับอาจารย์นิเทศที่เข้าใจ นักศึกษาสาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัย
ราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา จะไม่เคร่งเครียดจนเกินไป จะช่วยให้นักศึกษารู้สึกผ่อนคลายมากขึ้นท าให้มี
ความสุขในการเรียน
2. ภายในหน่วยงานหรือสาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏ
บ้านสมเด็จเจ้าพระยา ควรจัดให้มีกิจกรรมเพื่อเพิ่มความสุขในนักศึกษาให้มากขึ้น
บรรณานุกรม
ดลฤดี สุวรรคีรี. (2550). ความสุข 8 ประการในที่ท างาน. กรุงเทพ: ส านักงานกองทุนสนับสนุนการสร้าง
เสริมสุขภาพ.
วันเพ็ญ หวังวิวัฒน์เจริญและสาระ มุขดี. (2539). ความเครียดของนักศึกษาพยาบาลวิทยาลัยพยาบาล
เกื้อการุณย์. วารสารสมาคมจิตแพทย์แห่งประเทศไทย, 41(2), 78-86.
ส านักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2559). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติฉบับที่สิบสอง พ.ศ. 2564-2564. กรุงเทพฯ: ผู้แต่ง.
ราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา จึงส่งผลให้นักศึกษาสาขาวิชาการจัดการฺโลจิสติกส์ คณะวิทยาการจัดการ
หลักสูตรการจัดการการจัดการโลจิสติกส์คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
ors affected